Page 25 - วารสารเสียงชนเผ่า ประจำเดือนกรกฎาคม 2560
P. 25
กลุ่มมุสลิมเป็นหนึ่งในบรรดาพ่อค้าที่เข้ามาค้าขายและเข้ามา ทั้งนี้เมื่อมุสลิมทั้ง 3 กลุ่มได้ปักหลักในเมืองเชียงใหม่ ท�าให้
เกือบร้อยปีมาแล้ว โดยมุสลิมเหล่านี้สามารถแบ่งออกเป็น 2 สายด้วย เกิดความสัมพันธ์บนฐานของความเป็นมุสลิม ผ่านการแต่งงานข้ามกัน
กัน กลุ่มที่ 1 คือกลุ่มเดินทางจาก อินเดีย บังกลาเทศ เดินทางผ่าน ระหว่างสองชาติพันธุ์ จึงเป็นผลต่อการสร้างความใกล้ชิดระหว่างกัน
พม่า และกลุ่มที่ 2 คือกลุ่มที่มาจากยูนนาน โดยสามารถแบ่งได้ดังนี้ และการประกอบกิจกรรมทางศาสนา และการแลกเปลี่ยนค้าขาย การ
กลุ่มที่ 1 เป็นมุสลิมอินเดียบังกลา เนื่องจากสมัยนั้นอินเดีย บริโภคอาหารฮาลาล ระหว่างกัน
อยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ จากการบอกเล่า ของลุงไบเชื้อสายบังกลา เล่าว่า สมัยก่อน
กลุ่มที่ 2 รู้จักในกลุ่มมุสลิมฮ่อ มีการเล่าว่า กลุ่มมุสลิมเหล่านี้ บริเวณหน้าประตูช้างเผือก เป็นทุ่งนาที่กว้างขวาง ไร้ผู้คน ท�าให้มุสลิม
เดินทางเข้าเพื่อท�าการค้าขายและบางส่วนเป็นกลุ่มที่หลบหนีคดีความ เข้าจับจองและท�าเป็นที่ปศุสัตว์ จะนิยมค้าขายเนื้อวัว และท�าให้
หรือกรณีของชาวจีนฮ่อนั้นบางส่วนก็หนีมาจากสงครามวัฒนธรรม กิจการโรงฆ่าสัตว์ในเชียงใหม่ตกอยู่ในมือของมุสลิมเป็นหลัก แต่
ในจีน ปัจจุบันลูกหลานมุสลิมสายอินเดียได้กระจัดกระจายท�าอาชีพอื่นๆ
การเดินทางของกลุ่มปาทานและชาวบังกาลีได้อพยพเข้าตั้ง ตามกระแสสังคม ส�าหรับมุสลิมจีนฮ่อนั้นก็มีบทบาทในทาง
ถิ่นฐานในภาคเหนือของประเทศ เกิดขึ้นในสมัยปลายศตวรรษที่ 19 ประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจ คือกลุ่มนี้เข้ามาค้าขายบนเส้นทางเชียงใหม่
จากเมืองกัลกัตตาของประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นประเทศบังคลาเทศใน เชียงตุง สู่ยูนนาน เป็นพ่อค้าวัวต่างที่มีไพร่พล ฝีมือดี จนสามารถเข้า
ปัจจุบัน และมีการอพยพต่อภายหลังปี 1947 ซึ่งกลุ่มเหล่านี้เป็นมุสลิม มาตั้งหลักแหล่งในสมัยเจ้าเมืองเชียงใหม่ และมีบทบาทในการช่วย
นิกายซุนนี สายฮานาฟี โดยเข้าปักหลักอยู่บริเวณต�าบลช้างคลานและ เหลือทางด้านการปกครองให้กับเจ้าเมืองเชียงใหม่ในเวลานั้น เราจะ
ประกอบอาชีพพ่อค้าเร่และท�าปศุสัตว์ พบว่า มีหลักฐานเป็นบ้านของท่านขุนจวนเหลียง ที่ตั้งอยู่ในบริเวณ
ส�าหรับชาวจีนฮ่อมุสลิม เข้ามาในบริเวณภาคเหนือของไทย ข้างหลังไนบาซาร์ระหว่างจวนผู้ว่าเชียงใหม่
นั้นสามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่วงด้วยกัน ช่วงแรก คือ กลุ่มพ่อค้า ผล อาโก้ (ลุง จีนฮ่อ) เล่าว่า เดิมบริเวณของบ้านพักขุนจวน
มาจากการค้าที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนานของมุสลิมยูนนานที่เข้ามา เหลียง นั้นเป็นที่พักสินค้าต่างๆ ที่มาจากพ่อค้าวัวต่าง หรือ สินค้าที่
บทบาทในการค้าขายระหว่างรัฐมีการล�าเลียงสินค้าจากจีนลงสู่รัฐทาง ลงเรือจากแม่น�้าปิง จากบริเวณนั้นถึงประตูท่าแพ เป็นพื้นที่ตลาดที่
ตอนใต้ โดยชาวจีนมุสลิมเหล่านี้มีความเชี่ยวชาญในการเดินทางไกล ทอดยาวไปจนถึงหน้าประตู ถือเป็นตลาดใหญ่ที่ผู้คนชาติพันธุ์ต่างๆ
ซึ่งเรียกว่า พ่อค้าวัวต่าง พ่อค้าเหล่านี้มีจุดหมายอยู่ที่เมืองเชียงใหม่ มาซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้ากัน มีทั้งของป่านานาชนิด ผ้า เครื่องใช้
ซึ่งเป็นเมืองพักสินค้า จนได้ตั้งรกรากขึ้น เพราะเส้นทางกลับสู่บ้านเกิด เครื่องประดับและสินค้าจากจีนและอินเดีย
นั้นมีระยะทางที่ไกลเป็นอย่างมาก ลุงไบ ยังเล่าว่า ถึงแม้ว่าในปัจจุบันมีการขยายตัวของ
ช่วงที่ 2 เป็นผลที่มาจากการถูกผลักดันออกมาจากแผ่นดิน ครอบครัวมุสลิมในเมืองเชียงใหม่มากขึ้น มีความทันสมัยเพิ่มขึ้น มีการ
จีน ซึ่งพบว่ามีอยู่ 2 ครั้งด้วยกัน คือ 1. ในสมัยปลายราชวงศ์แมนจูที่ แข่งขันด้านเศรษฐกิจ ท�าให้ทั้งชาวปากีสถานและชาวจีนยูนนานห่าง
มีการพิพาทกันระหว่างมุสลิมจีนกับจักรวรรดิแมนจู 2. การได้รับ เหินกันบ้าง และทั้งสองกลุ่มได้สร้างองค์กรทางการเมืองและสถาบัน
ชัยชนะของระบบคอมมิวนิสต์ต่อฝ่ายคณะชาติท�าให้เกิดการอพยพเข้า ทางศาสนาในแบบฉบับของตนเอง ที่มีความแตกต่างในระดับวิธีคิด
มาในบริเวณตอนเหนือของพม่าและไทย ซึ่งกลุ่มคนในนั้นมีมุสลิมฮ่อ และการปฏิบัติตนตามอุปนิสัย ประกอบกับในช่วง 10 ปีที่ผ่านมามี
ยูนนานปะปนอยู่ด้วย กลุ่มคนเหล่านี้จึงได้รับความช่วยเหลือจาก กลุ่มมุสลิมจากพม่า อพยพเข้ามาเป็นแรงงานมากขึ้น และคนเหล่านี้
ชาวจีนมุสลิมที่มาถึงก่อนหน้านั้น โดยส่วนใหญ่ชาวจีนฮ่อมุสลิมได้ โดยส่วนใหญ่เข้าพักอาศัยอยู่ในบริเวณต�าบลช้างคลาน ทั้งยังมีมุสลิม
ตั้งรกรากบริเวณริมแม่น�้าปิง ปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันว่า 'บ้านฮ่อ' และ ที่เป็นชาวไทยใหญ่เข้ามาปะปนด้วย ท�าให้ในความเป็นมุสลิมเชียงใหม่
'ชุมชนอัลตักวา' มีอัตลักษณ์ที่เด่นชัดและหลากหลาย แตกต่างกันมากขึ้น
25