Page 13 - วารสารเสียงชนเผ่า ประจำเดือนกรกฎาคม 2560
P. 13




ปุจฉา : ครูเอกสนใจเข้ามาท�างานเรื่องเด็กเร่ร่อนได้อย่างไร? ก็ไปเช่าบ้านหลังหนึ่งแถวๆ เจ็ดยอดท�าเป็นส�านักงาน แต่ได้เฉพาะ
ตอนนั้นประมาณปี 2535 ผมก�าลังเรียนพัฒนาชุมชนที่
ราชภัฏเชียงใหม่ มีรุ่นพี่ไปคุยที่ราชภัฏหานักศึกษาไปช่วยท�างาน ค่าเช่านะ ค่าด�าเนินการอะไรอื่นๆ ไม่มี ค่าน�้า ค่าไฟ ค่าอาหารเด็ก
ไม่มีอะไรสักอย่าง
อยากให้ไปช่วยเก็บข้อมูลเรื่องเด็กเร่ร่อนเชียงใหม่ เราว่ามันน่าสนใจ
ก็เลยตัดสินใจมากับเพื่อน มาฝึกงาน...คือตอนนั้นยังไม่มีส�านักงาน ปุจฉา : กระบวนการท�างานในปัจจุบันเป็นอย่างไร?

ก็นัดเจอกัน สองโมง ทุกๆวัน ที่สวนบวกหาด จะมีเด็กที่ขายอาหาร ก็จะมีเจ้าหน้าที่ภาคสนามลงพื้นที่ ท�างานเป็นครูข้างถนน
ปลาบ้าง เอาเสื่อมาให้เช่าบ้าง เด็กพวกนี้บางทีก็ไม่มีบ้านอยู่ เราก็ ไปเยี่ยมเยียนเด็ก สร้างความสัมพันธ์กับเด็ก แล้วเราก็มีที่นี่เป็นศูนย์
คุยกับเด็กที่นั่น ส่วนกลางคืนก็นัดเจอกันอีกทีตอนสองทุ่มที่กาดอนุ เราเรียกว่าศูนย์เปิด (ศูนย์พักพิงของมูลนิธิอาสาพัฒนาเด็ก หลังวัด
สารอะไรอย่างนี้ ...ที่กาดอนุสารก็จะมีเด็กขายดอกไม้ อยู่กับเอเย่นต์ พวกช้าง ชุมชนระแกง : ผู้สัมภาษณ์) คืออย่างเด็กเร่ร่อนนี่เขาจะไม่
ก็เยอะ เราก็คุยได้บ้างไม่ได้บ้าง คือบางทีจะมีเอเย่นต์มานั่งเฝ้าอยู่ อยากอยู่ในกฎระเบียบจัดๆ เขาไม่สามารถปรับตัวกับที่อย่างนั้นได้
ซึ่งเด็กที่ขายดอกไม้เกือบทั้งหมดจะเป็นเด็กชนเผ่าที่ลงมาจากบน ที่นี่เราก็เหมือนเป็นบ้านเปิด ในช่วงแรกๆ ใครอยากมาก็มาได้นะ
ดอย มีเด็กคนพื้นราบบ้างนิดๆ หน่อยๆ ที่ครอบครัวมีปัญหา ใครอยากออกไปก็ได้ ใครอยากมาที่นี่ด้วยไปท�างานด้วยก็ได้ แล้ว
เอเย่นต์ก็จะรวบรวมเด็กเหล่านี้ไว้เป็นกลุ่มเพื่อท�างานให้ตัวเอง เราก็ค่อยๆ พูดคุยกับเด็ก ให้ค�าปรึกษา ชวนท�ากิจกรรมร่วมกัน
ตอนแรกก็เริ่มจากการเป็นอาสาสมัครก่อน แล้วพอเขามี สร้างกระบวนการปรับเปลี่ยนทัศนคติ คือเราพยายามให้มันแตก

ส�านักงาน...เป็นศูนย์บ้านพัก...อยู่ใกล้ๆ กับสวนบวกหาด เขาก็ยัง ต่างจากสถานสงเคราะห์ เพราะเด็กๆ จะรู้สึกว่าพอเข้าไปอยู่ใน
ไม่มีคนมาช่วยท�างาน พอเราเรียนจบก็รีบมาช่วยงาน ตอนแรกเรา สถานสงเคราะห์ปุ๊บ ก็ออกไปไหนไม่ได้ ท�าอะไรไม่ได้ต้องอยู่ในกฎ
ก็กลัว ไม่รู้จะเข้ากับเด็กได้ไหม...บางคนก็ดมกาว ติดยา ลักขโมย ระเบียบ พอเข้าไปก็ไม่สามารถปรับตัวกับวิถีชีวิตแบบนั้นได้ เขาก็
หรือก็เพิ่งออกจากสถานพินิจฯมา เราก็ไม่มีประสบการณ์ เป็น หนีออกมาอยู่ดี เราก็เลยคิดกันใหม่ว่า มันต้องมีบ้านเปิดนะ เรายัง
นักศึกษาจบใหม่ เราก็กลัวว่าเขาจะมาท�าอะไรเราไหม ว่าจะมี ไม่ต้องมีกฎเกณฑ์ว่าห้ามออกไปโน้นไปนี้ แล้วจึงค่อยๆ ใช้
อันตรายไหม (หัวเราะ)......แต่พอเราได้นั่งคุยกับเขา เขาก็เปิดใจ เรา กระบวนการ ปรับทัศนคติของเขา ซึ่งมันอาจจะต้องใช้เวลามาก
ก็ได้เรียนรู้.....จริงๆ น้องๆ เขาเป็นเด็กที่ดีนะ...พวกเขาเป็นคนมี หน่อย
น�้าใจนะ จริงๆ เขาก็อยากเป็นคนดี แต่ทีนี้มันมีอะไรล่ะ?...ที่ท�าให้
เขาเป็นอย่างนั้น ชีวิตที่เขาผ่านมา พ่อแม่แยกกัน ถูกพ่อเลี้ยงตี ถูก ปุจฉา : การลงพื้นที่หรือเป็นครูข้างถนน มีวิธีการอย่างไร?
ทารุณ เจอมาเยอะ มันเลยต้องท�าให้เขากร้านชีวิตมากขึ้น ต้องเอา เราก็ลงไปทุกวัน พยายามเข้าไปคุยด้วย อาจเอาเกม เอา
ตัวรอด ขนมไปนั่งเล่นนั่งกินกัน บางทีเด็กเขาไม่ได้กินข้าว เขาหิว เขาก็เข้า
มาหาเรา เราก็พยายามให้เขาไว้วางใจเราก่อน หรือบางทีเด็กไม่
ปุจฉา : แล้วเริ่มมาเป็นมูลนิธิอาสาพัฒนาเด็กได้อย่างไรครับ? สบาย เขาอยากได้ยา เราก็นัดกันว่า มาหาครูนะที่ศูนย์ฯ เรามียาที่

ก็ช่วงหลังพี่ที่เราท�าอยู่ด้วยเขาก็ไม่ได้ท�าต่อ ก็คิดว่าคงจะ นั่น ก็จะนัดกันไป...เราต้องไปทุกวัน คุยกับเด็กทุกวัน ถ้าเราสามารถ
หยุดท�างานนี้กันไป แต่ก็ยังขี่มอเตอร์ไซค์ ไปลงพื้นที่ ไปหาเด็กๆ อยู่ ที่จะเข้าถึงเด็กบางคนได้ เขาก็จะมีกลุ่มเพื่อนบ้าง รุ่นน้องบ้าง เขา
พอเด็กๆ รู้ว่าเราจะเลิกท�างาน พวกเขาก็พูดกับผมว่า ...ครูๆ ถ้าครู ก็จะบอกต่อๆ กัน ชักชวนกันเข้ามาหาเรา แนะน�าเรากับเพื่อนๆ
เลิกท�า แล้วพวกหนูล่ะ จะท�ายังไงกันต่อ...เราก็คิดหนัก พอดีมี น้องๆ เราก็ท�างานง่ายขึ้น ส่วนในปัจจุบันเราก็ปรับเปลี่ยนไปหลาย
อาจารย์ที่ท�างานอยู่กับ Unicef โทรฯ มาหาที่บ้าน บอกว่า ครูเอก อย่าง เราเริ่มสร้างให้เด็กเป็นแกนน�า คือเราก็จะมีเด็กที่อยู่กับเรา
อยากท�างานตรงนี้ต่อไหม ลองรวมกลุ่มกันกับเพื่อนๆ สิ แล้วมา อยู่แล้ว แล้วเขาก็โตมาเป็นคนท�างานพื้นที่ให้เราต่อ มาคอยช่วย
เขียนโครงการกัน เพราะที่ Unicef ก็สนใจเรื่องนี้ ก็เลยรวมกลุ่มกัน เหลือน้องๆ ของพวกเขาต่อ
กับเพื่อนที่ท�างานอยู่ ใช้ชื่อว่า 'อาสาพัฒนาเด็ก' แต่กว่าจะเขียน เราก็มีกระบวนการให้ค�าปรึกษา ให้ค�าแนะน�า ท�ากิจกรรม
โครงการพัฒนาโครงการได้ก็เป็นปีเลย ยังดีที่ได้ประสานงานกับทาง เกี่ยวกับสิทธิเด็ก การรู้จักกับความเสี่ยงในการท�างาน ความรุนแรง

ประชาสงเคราะห์ในตอนนั้น เขาก็สนับสนุน ให้ค่าเช่าส�านักงาน เรา ทางเพศ การปรับตัวใช้ชีวิตอยู่ในสังคม เราก็ท�ากิจกรรมเหล่านี้ พอ
13
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18