25 เม.ย. 62 4,519 ครั้ง ปัจจุบันคนไทยกินเค็มเกิน 2 เท่า (โซเดียมเฉลี่ยที่คนไทยกิน 4,352 มิลลิกรัม/วัน)
24 เม.ย. 62 2,024 ครั้ง แพทย์ห่วง 'สตรีทฟู้ด' ทำคนไทยกินเค็มเกิน แนะติดคำเตือนฉลากเครื่องปรุง-ดึง อปท. ร่วมตรวจสอบ
23 เม.ย. 62 7,572 ครั้ง สสส.-WHO-กรมควบคุมโรค-เครือข่ายลดเค็มฯ ห่วงคนไทยติดเค็มจากวัฒนธรรมท้องถิ่น ต้นเหตุตายกว่า 2 หมื่นคน/ปี แนะโซเดียมไม่เกิน 2,000 มก./วัน ง่ายๆ ด้วยวิธี 3 ลด คาดกินเค็มดิ่งลง 30% ในปี 68
13 มี.ค. 62 8,839 ครั้ง คนไทยกว่า 20 ล้านคน ป่วยเป็นโรคที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมติดเค็ม เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด และโรคไต โดยในแต่ละปีมีคนไทยล้างไตเพิ่มขึ้นถึง 20,000 คน ส่งผลให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากพฤติกรรมติดเค็มสูงถึง 98,976 ล้านบาท/ปี
11 มี.ค. 62 11,526 ครั้ง ซองขนมสีสันสดใส ตั้งเรียงรายบนชั้นวางของภายในร้านสะดวกซื้อ ล่อตาล่อใจทุกเพศทุกวัย ทั้งรสชาติที่แปลกใหม่และรสชาติที่คุ้นเคยให้เลือกหยิบลงตะกร้าได้อย่างง่ายดาย ด้วยเหตุผลสั้นๆ ที่ว่า ‘อร่อยดี’
01 มี.ค. 62 46,485 ครั้ง เมื่อพูดถึงอาหารไทยแล้ว รสชาติที่คนส่วนใหญ่คุ้นเคยและนึกถึงคือ รสหวานและเค็ม ซึ่งหากกินมากไป จะทำให้เกิดปัญหาสุขภาพ
27 ก.พ. 62 7,971 ครั้ง พฤติกรรมการกินของคนไทยในปัจจุบันพบว่าเรากินเค็มมากเกินไป สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการไม่รู้ว่า ในอาหารมีปริมาณเกลือ หรือโซเดียมมากน้อยแค่ไหน จนทำให้หลาย ๆ คนพบเจอกับโรคดังต่อไปนี้
27 ก.พ. 62 39,011 ครั้ง ในทางวิทยาศาสตร์ เกลือ คือสารประกอบทางเคมีที่เรียกว่า โซเดียมคลอไรด์ คำว่าเกลือและโซเดียม จึงมักใช้แทนกันและกันจนทำให้
27 ก.พ. 62 4,145 ครั้ง รวมพลังประกาศเจตนารมณ์ “แก้ปัญหาพฤติกรรมเด็กติดเค็ม” ตั้งเป้าลดเค็ม 30% ในปี 68 พบเด็กไทยกินเค็มเกิน 5 เท่า เสี่ยงแนวโน้มเป็นผู้ใหญ่ติดเค็ม ส่งผลต่อโรคความดันโลหิตสูง หัวใจ และไต เปิดอาหาร-ขนมยอดนิยมโซเดียมสูง เพียง 1 ซองเกินปริมาณที่เด็กควรได้รับต่อวัน พร้อมจัดงานวันไตโลกปี 2562 “ทุกคนทั่วไทย ไตแข็งแรง”
22 ก.พ. 62 3,312 ครั้ง รสชาติของอาหารที่คนไทยคุ้นเคยอย่างรสหวาน เค็ม ของทอด ฯลฯ รสจัดเป็นหนึ่งในสาเหตุหลักของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
20 ก.พ. 62 5,426 ครั้ง โซเดียมแฝง คือ โซเดียมที่อยู่ในส่วนประกอบของสารต่าง ๆ ที่ไม่ใช่เกลือ ทำให้อาหารที่มีโซเดียมสูงบางชนิดอาจไม่มีรสเค็ม
15 ก.พ. 62 5,040 ครั้ง เบาหวานไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ใกล้เคียงกับปกติมากที่สุดได้ โดยการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในปริมาณที่เหมาะสม ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ และควรใช้ยาตามคำสั่งแพทย์