ข้อมูลองค์กร
สสส.จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ พ.ศ. 2544
มีหน้าที่หลักในการสนับสนุน- ขบวนการสร้างเสริมสุขภาพในประเทศไทย
ทำงานสนับสนุนและร่วมมือกับหน่วยงานและภาคีเครือข่ายต่าง ๆ
ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมมหาวิทยาลัย และชุมชนท้องถิ่น ผ่านยุทธศาสตร์ไตรพลัง ที่ประกอบด้วย
พลังปัญญา พลังสังคม และพลังนโยบาย ทำงานสอดประสานร่วมกันขับเคลื่อน ขบวนการสร้างเสริมสุขภาพให้ทุกคนในสังคมไทยมี สุขภาพดีครบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ กาย จิต ปัญญา และสังคม
ทำงานสนับสนุนและร่วมมือกับหน่วยงานและภาคีเครือข่ายต่าง ๆ
ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมมหาวิทยาลัย และชุมชนท้องถิ่น
ผ่านยุทธศาสตร์ไตรพลัง ที่ประกอบด้วย
พลังปัญญา พลังสังคม และพลังนโยบาย ทำงานสอดประสานร่วมกันขับเคลื่อน
ขบวนการสร้างเสริมสุขภาพให้ทุกคน
ในสังคมไทยมี สุขภาพดีครบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ กาย จิต ปัญญา และสังคม
ทำงานสนับสนุนและร่วมมือกับหน่วยงานและภาคีเครือข่ายต่าง ๆ
ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมมหาวิทยาลัย และชุมชนท้องถิ่น
ผ่านยุทธศาสตร์ไตรพลัง ที่ประกอบด้วย
พลังปัญญา พลังสังคม และพลังนโยบาย ทำงานสอดประสานร่วมกันขับเคลื่อน ขบวนการสร้างเสริมสุขภาพให้ทุกคน
ในสังคมไทยมี สุขภาพดีครบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ กาย จิต ปัญญา และสังคม
- วิสัยทัศน์
ทุกคนบนแผ่นดินไทย
มีวิถีชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
ที่สนับสนุนต่อการมีสุขภาวะที่ดี
วิสัยทัศน์
ทุกคนบนแผ่นดินไทย
มีวิถีชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
ที่สนับสนุนต่อการมีสุขภาวะที่ดี
ทุกคนบนแผ่นดินไทย
มีวิถีชีวิต สังคม
และสิ่งแวดล้อม
ที่สนับสนุนต่อการมี
สุขภาวะที่ดี
พันธกิจ
พันธกิจ
จุดประกาย กระตุ้น สาน และ เสริมพลัง
บุคคลและองค์กรทุกภาคส่วนให้มีขีดความสามารถและสร้างสรรค์ระบบสังคมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ
สานเสริมพลัง
และบุคคลและองค์กรทุกภาคส่วนให้มีขีดความสามารถและสร้างสรรค์ระบบสังคมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ
- พันธกิจ
จุดประกาย กระตุ้น สาน และ เสริมพลัง
บุคคลและองค์กรทุกภาคส่วน
ให้มีขีดความสามารถและสร้างสรรค์
ระบบสังคมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ
- รายรับของ สสส. มาจากการจัดเก็บ “ส่วนเพิ่ม”
รายรับของ สสส. มาจากการจัดเก็บ “ส่วนเพิ่ม” ของภาษีสุราและยาสูบ ร้อยละ 2
งบประมาณ สสส. มาจากการรายได้ภาษีสรรพสามิตยาสูบ และสุรา โดยเป็นการจัดเก็บส่วนเพิ่มในอัตรา 2% ของภาษีที่เก็บจากสุราและยาสูบตามกฎหมายว่าด้วยสุราและกฎหมายว่าด้วยยาสูบ
การออกกฎหมายให้จัดเก็บเงินเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะโดยตรงเช่นนี้ เป็นหนึ่งในกลไกจัดสรรงบประมาณของภาครัฐ ที่ถูกออกแบบให้ประเทศไทยมีงบประมาณเพื่อการลงทุนด้านการสร้างเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
รายรับของ สสส. มาจากการจัดเก็บ
“ส่วนเพิ่ม”
ของภาษีสุราและยาสูบ ร้อยละ 2
เงินบำรุงกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพมาจากเงินรายได้ภาษีสรรพสามิต ยาสูบ และสุรา
ในอัตราร้อยละ 2 ต่อปี เป็นการจัดเก็บ
“ส่วนเพิ่ม” จากการเสียภาษีปกติที่อุตสาหกรรมด้านบุหรี่ และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต้องเสียให้แก่รัฐคิดเป็นเพียงร้อยละ 1.8 ของรายจ่ายด้านสุขภาพทั้งหมดเท่านั้น ซึ่งนับว่าเป็นเพียงกลไกเล็กๆ กลไกหนึ่งในระบบสุขภาพที่กว้างใหญ่และซับช้อนของประเทศรวมทั้งมีการจัดระบบและ
วิธีการใช้จ่ายการสนับสนุนทุนแบบโปร่งใส
แต่ละปี สสส. จัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนโครงการต่างๆ
แบ่งเป็นสองลักษณะใหญ่ คือ
กฎบัตรออตตาวา 5 ข้อ
(Ottawa charter forhealth promotion)
บทเรียนความสำเร็จของการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพกว่า 20 ปี ในประเทศไทย ที่สะท้อนผ่านหลากหลายโครงการที่มุ่งควบคุมปัจจัยเสี่ยงภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เช่น การบริโภคยาสูบ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และอุบัติเหตุ เป็นต้นโครงการเหล่านี้ เป็นการกำหนดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่สอดคล้องกับแนวคิด การสร้างเสริมสุขภาพตามกฎบัตรออตตาวาเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพกฎบัตรออตตาวา 5 ข้อ
- การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ทำให้ประเด็นหรือผลกระทบทางสุขภาพอยู่ในความตระหนักและหน้าที่รับผิดชอบของผู้กำหนดนโยบาย
- การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ จัดการเพื่อให้สิ่งแวดล้อมในระดับต่างๆ สามารถเอื้อหรือส่งเสริมซึ่งกันและกันต่อสุขภาพได้
- การเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง ดึงศักยภาพของบุคคลและทรัพยากรในชุมชน ให้สามารถ ช่วยเหลือตนเอง สนับสนุนซึ่งกันและกัน กำหนดอนาคตของตนเองได้
- การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล ให้ข้อมูลเสริมสร้างความรู้ ด้านสุขภาพ และการพัฒนา ทักษะชีวิตเพื่อเสริมสร้างให้บุคคลในทุกช่วงวัย มีความสามารถในการควบคุมสุขภาพและสิ่งแวดล้อมได้เอง
- การปรับระบบบริการสุขภาพที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการปรับบริการสุขภาพ (ที่มากกว่าการดูแลรักษา) เพื่อสนับสนุนบุคคลและชุมชนที่ต้องการมีสุขภาพดีขึ้น เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมสนับสนุนการดูแล สุขภาพอย่างเชื่อมโยงกัน
-
รูปแบบการทำงานสร้างเสริมสุขภาพของ สสส.
(Working Model: Health Promotion)
รูปแบบการทำงานสร้างเสริมสุขภาพของ สสส. ยึดแนวทางการสร้างเสริมสุขภาพร่วมสมัยที่ประยุกต์จากตัวแบบการสร้างเสริมสุขภาพ
ของ Green and Tones 2012 และ 5 กลยุทธ์สร้างเสริมสุขภาพตาม กฎบัตรออตตาวา มาเป็นพื้นฐาน
รูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพได้แสดงองค์ประกอบต่างๆ และเส้นทางความสัมพันธ์ของการดำเนินกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ
เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีครบ 4 มิติ
รูปแบบการทำงานสร้างเสริมสุขภาพของ สสส. ยึดแนวทางการสร้างเสริมสุขภาพร่วมสมัยที่ประยุกต์จากตัวแบบการสร้างเสริมสุขภาพของ Green and Tones 2012 และ 5 กลยุทธ์สร้างเสริมสุขภาพตาม กฎบัตรออตตาวา
มาเป็นพื้นฐาน รูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพได้แสดงองค์ประกอบต่างๆ และเส้นทางความสัมพันธ์
ของการดำเนินกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีครบ 4 มิติ
และรังสรรค์นวัตกรรม
สนับสนุนงานวิชาการและรังสรรค์นวัตกรรม
ชี้แนะสังคม
สื่อสาร จุดประกาย ชี้แนะสังคม
กาย
ยุทธศาสตร์หลัก “ไตรพลัง”
2.พลังนโยบาย คือ การขยายพื้นที่การมีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายสาธารณะ (Space of participatory policy process) อย่างกว้างขวาง โดยนโยบายจะก่อให้เกิดระบบและโครงสร้างที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพ และส่งผลกระทบในวงกว้างต่อประชาชน
3.พลังทางสังคม คือ การขยายพื้นที่ทางสังคม (Social space) อย่างกว้างขวาง โดยการระดมพลังเครือข่ายทางสังคมที่มีบทบาทสำคัญในการทำงาน การรณรงค์ และการเฝ้าระวังในการสร้างเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลให้การขยายพื้นที่ทางสังคมในการสร้างเสริมสุขภาพ
ชุมชน และองค์กร
พัฒนาศักยภาพบุคคล ชุมชน และองค์กร
สังคม
สังคม และสถาบัน
พัฒนาระบบกลไกทางนโยบาย สังคม และสถาบัน
จิต
สานเสริมพลังเครือข่าย
ปัญญา
-
ยุทธศาสตร์ไตรพลัง
เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ
ยุทธศาสตร์การทำงานของ สสส. ตั้งอยู่บนฐานของการบูรณาการตามยุทธศาสตร์หลัก “สานสามพลัง” หรือ “ไตรพลัง” ได้แก่ “พลังปัญญา
พลังนโยบาย และพลังสังคม” ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์เฉพาะ คือ
1) สนับสนุนงานวิชาการและรังสรรค์นวัตกรรม
2) พัฒนาศักยภาพบุคคล ชุมชน และองค์กร
3) สานเสริมพลังเครือข่าย
4) พัฒนากลไกทางนโยบาย สังคม และสถาบัน
5) สื่อสาร จุดประกาย ชี้แนะ สังคม
ทำงานสอดประสานร่วมกัน ขับเคลื่อนขบวนการสร้างเสริมสุขภาพที่ทำให้ทุกคนในสังคมไทย มีสุขภาพดีครบทั้ง 4 ด้าน ทั้งกาย จิต ปัญญา และสังคม
ทำงานสอดประสานร่วมกัน ขับเคลื่อนขบวนการสร้างเสริมสุขภาพที่ทำให้ทุกคนในสังคมไทย มีสุขภาพดีครบทั้ง 4 ด้าน ทั้งกาย จิต ปัญญา และสังคม
มีสุขภาพดีครบทั้ง 4 ด้าน
ได้แก่
กาย จิต ปัญญา และสังคม
- แผนหลัก สสส. 15 แผน
การสร้างผลลัพธ์ทางสุขภาพให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ จำเป็นต้องมีวิธีการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ
การจัดโครงสร้างแผนเพื่อให้เกิดการบริการจัดการและเน้นให้เกิดการทำงานแนวราบที่เป็นวิธีการทำงานที่สำคัญของสสส.
สามารถจำแนกวิธีการทำงานออกเป็น 4 กลุ่ม เพื่อให้เหมาะสมต่อบริบทของงานและเสริมการบูรณาการระหว่างแผน ดังนี้
เน้นทำงานยุทธศาสตร์เชิงลึก พัฒนางานวิชาการและนวัตกรรมให้ทันกับปัจจัยเสี่ยงที่มีพลวัต มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อผลักดันให้เกิดนโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพและควบคุมปัจจัยเสี่ยงอันจะส่งผล กระทบกับประชากรในวงกว้าง
เน้นการพัฒนาศักยภาพพัฒนาเครือข่าย สร้างความเข้มแข็งให้กับประชากรกลุ่มเป้าหมายและเครือข่ายองค์กรสุขภาวะ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และเน้นการสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายชุมชน พื้นที่ เข้มแข็ง มีขีดความสามารถในการแก้ปัญหาสุขภาพ เพื่อให้เกิดกลไกการสร้างเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงที่ชุมชนเป็นเจ้าของ เป็นผู้ดำเนินการให้สอดคล้องเหมาะสมกับกับบริบทของพื้นที่และชุมชน
เป็นกลุ่มแผนที่ทำหน้าที่สนับสนุน ส่งเสริมให้ เกิดการพัฒนาระบบกลไกทางสังคมและสุขภาพร่วมกับเจ้าภาพหลัก เพื่อให้เกิดการทำงาน เชิงระบบอันจะทำให้เกิดการทำงานที่ต่อเนื่อง
- องค์ประกอบของแผนหลัก สสส. 15 แผน
- ทิศทางและเป้าหมายกองทุน 10 ปี
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
วิสัยทัศน์
ทุกคนบนแผ่นดินไทยมีวิถีชีวิต
สังคม และสิ่งแวดล้อม
ที่สนับสนุนต่อสุขภาวะที่ดี
จุดประกาย กระตุ้น สานและเสริมพลังบุคคล ชุมชน และองค์กรทุกภาคส่วน ให้มีขีดความสามารถและสร้างสรรค์ระบบสังคมที่สนับสนุนต่อการมีสุขภาวะที่ดี
เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ไตรพลัง (พลัง
นโยบายพลังความรู้ พลังสังคม)
การจัดโครงสร้างแผนและกลไกสนับสนุน
โครงสร้างแผน
กลไกสนับสนุน