31 มี.ค. 64 1,408 ครั้ง ตามที่มีข่าวการท้าทายกินเกลือของคนต่างชาติผ่านสื่อสังคมออนไลน์ชื่อดังนั้น ขอเตือนว่าไม่ควรเลียนแบบพฤติกรรมดังกล่าว เนื่องจากการบริโภคเกลือหรืออาหารที่มีรสเค็มมากเกินไปส่งผลให้ร่างกายได้รับโซเดียมในปริมาณสูงเกินความต้องการ โดยปริมาณที่แนะนำไม่เกิน 1 ช้อนชา หรือน้ำปลาไม่เกิน 4 ช้อนชาต่อวัน โดยจากผลสำรวจปี 2563 พบว่าคนไทยบริโภคโซเดียมสูงถึง 4,351.7 มิลลิกรัมต่อวัน สูงกว่าค่าที่องค์การอนามัยโลกแนะนำถึง 2 เท่า ส่งผลทำให้คนไทยเป็นโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทั้งการบริโภคโซเดียมเกินกว่าความต้องการในแต่ละวันทำให้ไตต้องทำงานหนักขึ้นและเสื่อมเร็วขึ้น การรับโซเดียมในปริมาณสูงอย่างต่อเนื่องในระยะยาวส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของระดับความดันโลหิต เป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด ไต เบาหวาน และอัมพฤกษ์ อัมพาตได้
08 มี.ค. 64 2,833 ครั้ง สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)ร่วมกับเครือข่ายคนไทยไร้พุง จัดเสวนาถอดบทเรียนสถานการณ์โรคอ้วนในประเทศไทยเนื่องใน "วันอ้วนโลก" ซึ่งตรงกับวันที่ 4 มี.ค.โดย ศ.เกียรติคุณ พญ.วรรณี นิธิยานันท์ ประธานเครือข่ายคนไทยไร้พุงราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า ประเทศไทยพบเด็กและผู้ใหญ่มีน้ำหนักตัวเกินมาตรฐานหรือมีภาวะอ้วนจำนวนมากคาดว่ามีมากกว่า 20 ล้านคน สาเหตุมาจากการบริโภคเกินความจำเป็น ไม่ถูกหลักโภชนาการ และพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่มีกิจกรรมทางกายน้อยลง ภาวะอ้วนส่งผลให้เกิดโรคตามมามากมายทั้งโรคติดเชื้อ โรคหัวใจ และหลอดเลือด เบาหวาน รวมถึงข้อเข่าเสื่อม โรคเกาต์
08 ต.ค. 63 7,215 ครั้ง การกินอาหารรสจัด เช่น หวานจัด เค็มจัด มันสูง และไม่กินผัก ส่งผลเสียต่อหลอดเลือดเราอย่างไรบ้าง? มาดูกันได้เลย
20 ก.ค. 63 5,754 ครั้ง หนึ่งในอาหารที่เป็นที่นิยมของคนไทยคือ “หมูกรอบ” ไม่ว่าจะเป็นข้าวหมูกรอบ หมูกรอบผัดพริกแกง หมูกรอบผัดกะเพรา หมูกรอบผัดพริกขิง ก๋วยจั๊บใส่หมูกรอบ และอื่นๆ จากข้อมูลของสำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธาณสุข ระบุว่าพลังงานจากหมูกรอบ 100 กรัม (7-10 ชิ้นคำ) ให้พลังงานประมาณ 385 -420 แคลอรี่ไขมัน 30 กรัม โดยหากเป็นข้าวหมูกรอบพลังงานก็จะเพิ่มขึ้น เป็น 550-600 แคลอรี่ และหากเป็นเมนูหมูกรอบที่มีการนำไปผัดกับน้ำมันก็จะทำให้ยิ่งเพิ่มพลังงานมากขึ้น
20 ก.ค. 63 5,014 ครั้ง ในปัจจุบันนี้โรคอ้วนและอ้วนลงพุงมีจำนวนเพิ่มมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งหนึ่งในสาเหตุของการเกิดนั้นมาจากการที่กินมากเกินไป (overeating) จากการศึกษาพบว่ารสชาติของอาหารเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้คนกินอาหารมากขึ้น โดยพบว่ารสเค็มเป็นรสที่ส่งผลต่อการกินมากที่สุด รสชาติเค็มเปรียบเหมือนยาเสพติดโดยเร่งการผลิตโดปามีนซึ่งเป็นสารเคมีในสมองส่งผลต่ออารมณ์ความพึงพอใจ ความสุข ทำให้เกิดความรู้สึกอยากอาหาร เมื่อติดรสชาติเค็มแล้วหากไม่ได้รสชาติเค็มก็จะรู้สึกว่าอาหารไม่อร่อย รู้สึกหงุดหงิด อารมณ์เสีย นอกจากนี้ผู้ที่ติดรสชาติเค็มเพียงแค่นึกถึงอาหารที่มีรสชาติเค็มก็สามารถทำให้เกิดความรู้หิวและอยากอาหารขึ้นมา จึงเป็นสาเหตุให้ผู้ที่ชอบกินเค็มอาจจะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำหนักเกินหรือโรคอ้วนได้ง่ายกว่าผู้ที่ไม่ชอบกินเค็มเนื่องมาจากพอความรู้สึกอยากอาหารมากขึ้น กินก็มากขึ้น โอกาสการได้รับพลังงานที่มาจากอาหารก็จะมากขึ้นตามไปด้วย
19 ส.ค. 62 11,704 ครั้ง “พี่คะ โกโก้ หวานน้อย 1 แก้ว ค่ะ” “น้องครับ พี่ไม่รับเครื่องปรุงเพิ่มดีกว่า” “ป้าคะ หนูเอาผัดผักน้ำมันน้อยๆ นะคะ”
16 ส.ค. 62 14,746 ครั้ง ถึงแม้โซเดียมจะมีความสำคัญต่อร่างกาย แต่การบริโภคมากเกินไปกลับมีผลเสียต่อสุขภาพ การบริโภคโซเดียมสูงเป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงสำคัญของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง โรคไต และอัมพาต ซึ่งนับวันจะมีสถานการณ์ความรุนแรงมากขึ้น ทำให้เกิดความทุกข์ทรมาน และการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร
26 ก.ค. 62 5,252 ครั้ง มาตรการทางภาษี ถูกชี้ว่าเป็นมาตรการที่มีประสิทธิภาพและคุ้มค่าที่สุดมาตรการหนึ่ง ในการลดการบริโภค "สินค้าทำลายสุขภาพ"
11 ก.ค. 62 6,039 ครั้ง การดูแลสุขภาพเพื่อให้ห่างจากโรคพฤติกรรมการกินไม่เหมาะสมนั้นไม่ยาก เพียงแค่เริ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินให้ดีขึ้น ดังนี้
25 เม.ย. 62 3,855 ครั้ง ปัจจุบันคนไทยกินเค็มเกิน 2 เท่า (โซเดียมเฉลี่ยที่คนไทยกิน 4,352 มิลลิกรัม/วัน)
24 เม.ย. 62 1,677 ครั้ง แพทย์ห่วง 'สตรีทฟู้ด' ทำคนไทยกินเค็มเกิน แนะติดคำเตือนฉลากเครื่องปรุง-ดึง อปท. ร่วมตรวจสอบ
23 เม.ย. 62 5,704 ครั้ง สสส.-WHO-กรมควบคุมโรค-เครือข่ายลดเค็มฯ ห่วงคนไทยติดเค็มจากวัฒนธรรมท้องถิ่น ต้นเหตุตายกว่า 2 หมื่นคน/ปี แนะโซเดียมไม่เกิน 2,000 มก./วัน ง่ายๆ ด้วยวิธี 3 ลด คาดกินเค็มดิ่งลง 30% ในปี 68
13 มี.ค. 62 8,509 ครั้ง คนไทยกว่า 20 ล้านคน ป่วยเป็นโรคที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมติดเค็ม เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด และโรคไต โดยในแต่ละปีมีคนไทยล้างไตเพิ่มขึ้นถึง 20,000 คน ส่งผลให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากพฤติกรรมติดเค็มสูงถึง 98,976 ล้านบาท/ปี
11 มี.ค. 62 10,285 ครั้ง ซองขนมสีสันสดใส ตั้งเรียงรายบนชั้นวางของภายในร้านสะดวกซื้อ ล่อตาล่อใจทุกเพศทุกวัย ทั้งรสชาติที่แปลกใหม่และรสชาติที่คุ้นเคยให้เลือกหยิบลงตะกร้าได้อย่างง่ายดาย ด้วยเหตุผลสั้นๆ ที่ว่า ‘อร่อยดี’
01 มี.ค. 62 41,162 ครั้ง เมื่อพูดถึงอาหารไทยแล้ว รสชาติที่คนส่วนใหญ่คุ้นเคยและนึกถึงคือ รสหวานและเค็ม ซึ่งหากกินมากไป จะทำให้เกิดปัญหาสุขภาพ
27 ก.พ. 62 6,958 ครั้ง พฤติกรรมการกินของคนไทยในปัจจุบันพบว่าเรากินเค็มมากเกินไป สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการไม่รู้ว่า ในอาหารมีปริมาณเกลือ หรือโซเดียมมากน้อยแค่ไหน จนทำให้หลาย ๆ คนพบเจอกับโรคดังต่อไปนี้