16 ก.ย. 64 5,088 ครั้ง นอกจากโรคความดันโลหิต เบาหวาน หัวใจ แล้วความอ้วนที่เกิดจากไขมัน ยังอาจทำให้เกิดโรคอะไรได้อีกบ้าง? มาดูกัน
09 มิ.ย. 64 2,992 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เตือนคนไทยที่ได้รับข้อมูลจากสื่อโซเชียล เรื่องการนำแตงโม ต้มน้ำตาลมากินเพื่อรักษาโรคไต ไม่ใช่เรื่องจริง หากกินเยอะเกินไป เสี่ยงเป็นโรคอ้วน เบาหวาน และฟันผุได้ แนะนำหากเป็นโรคไตควรปรึกษาแพทย์ และควบคุมอาหารให้เหมาะกับร่างกาย
17 พ.ค. 64 4,837 ครั้ง การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกที่ 3 ในไทย นอกจากจะมีตัวเลขผู้ติดเชื้อรายวันสูงแตะหลักพันแล้ว สิ่งที่น่าเป็นกังวลอย่างยิ่งคือ อัตราการเสียชีวิตที่เพิ่มสูงขึ้น ล่าสุดผู้เสียชีวิตในวันที่ 12 พฤษภาคม 2564 ทำนิวไฮที่ 34 ราย และเมื่อพิจารณาจากโรคประจำตัว ปัจจัยเสี่ยงต่อความรุนแรงของโรคแล้ว ผู้ที่เสียชีวิตจากโรคโควิดส่วนใหญ่ นอกจากจะมีโรคประจำตัวอย่าง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ พบว่ามีภาวะอ้วนประกอบด้วย
13 พ.ค. 64 3,901 ครั้ง ในฐานะประธานเครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน กล่าวถึง การเก็บภาษีความหวานในเครื่องดื่มผสมน้ำตาล ว่า นับตั้งแต่กรมสรรพสามิตดำเนินการ จัดเก็บมาตั้งแต่ปี 2560 ส่งผลให้โรงงานผลิตเครื่องดื่มปรับกระบวนการผลิตที่เน้นลดการใช้น้ำตาลทรายลง เพื่อหลีกเลี่ยง การจ่ายภาษีความหวานที่เพิ่มขึ้น จึงเกิดผลดีทางสุขภาพแก่ประชาชน มีทางเลือกการบริโภคเครื่องดื่ม รสชาติหวานน้อยแก่ประชาชนมากขึ้น
30 เม.ย. 64 2,617 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เผยกลุ่มวัยทำงานมีภาวะอ้วน กินอาหารไม่ถูกหลักโภชนาการและมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ หวั่นสุขภาพแย่ระยะยาว แนะกินอาหารถูกหลักโภชนาการ หมั่นออกกำลังกายสม่ำเสมอ ช่วยลดเสี่ยงการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
28 เม.ย. 64 2,718 ครั้ง จากการสังเกตผู้เสียชีวิต จากการระบาดของโควิด 19 ระลอกใหม่ พบว่า ปัจจัยเสี่ยงส่วนใหญ่ ได้แก่ "โรคอ้วน" รวมถึงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ซึ่งอยู่ใน กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) หลายรายเป็นผู้ที่มี "อายุน้อย" ภาพรวมในระลอกเดือนเม.ย. พบผู้เสียชีวิตมีอายุเฉลี่ย 29 ปี ต่างจาก การระบาดระลอกที่ผ่านมาซึ่งผู้เสียชีวิต ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว
15 มี.ค. 64 3,424 ครั้ง ภาวะอ้วนในประเทศไทย พุ่งสูงขึ้นทุกๆปี และได้สูงขึ้นคู่ขนานไปพร้อมๆกับอัตราการเจ็บป่วยและเสียชีวิตของคนไทย อันเกิดจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือ NCDs ที่มาจากต้นเหตุของความอ้วน ทั้งๆที่กระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ระดมการรณรงค์ลดอ้วนลดพุง และ NCDs ติดต่อกันมานานนับสิบกว่าปี
09 มี.ค. 64 5,838 ครั้ง ไอเอฟ คีโต โยโย่เอฟเฟ็กต์... ล้วนเป็นคำศัพท์ที่เชื่อว่าหลายคนคุ้นหูเป็นอย่างดี และอาจจะเคยเสิร์ชหาข้อมูลความหมายว่าคืออะไร เพราะล้วนแล้วแต่เกี่ยวกับ "การลดน้ำหนัก" ซึ่งเป็นหัวข้อที่ทุกเพศทุกวัยให้ความสนใจ ทว่าการลดน้ำหนักสำหรับใครหลายคน กลับไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะแม้ว่าจะตั้งมั่นและตั้งใจมากี่ครั้ง ก็มักจะล้มเหลวอยู่เสมอ
08 มี.ค. 64 3,243 ครั้ง ธ.จับมือ ศธ.ปรับเกณฑ์เติบโตเด็กไทยชุดใหม่ พบอ้วนเกินร้อยละ 10 เตี้ยร้อยละ 5 เสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง วางเป้าหมาย 15 ปีข้างหน้า ชายวัย 19 ปี ต้องสูง 180 หญิง 170 ซม. กรมอนามัย ส่งมอบเกณฑ์ใหม่ให้เครือข่ายใช้ขับเคลื่อนดูแลเด็กวัยรุ่นให้โภชนา การดี สมส่วนมากขึ้น ลดปัญหาลงพุงทั่วประเทศ
04 มี.ค. 64 8,162 ครั้ง สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับ เครือข่ายคนไทยไร้พุง จัดเสวนาถอดบทเรียนสถานการณ์โรคอ้วนในประเทศไทย เนื่องใน "วันอ้วนโลก" (World Obesity Day) ซึ่งตรงกับวันที่ 4 มีนาคม เพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงภัยเงียบที่แฝงมากับพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมจนน้ำหนักเกินและเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ (NCDs : non-communicable diseases)
01 มี.ค. 64 12,365 ครั้ง การเพิ่มกิจกรรมและการออกกำลังกาย จะช่วยให้การลดน้ำหนักมีประสิทธิภาพป้องกันการลดลงของมวลกล้ามเนื้อ และช่วยไม่ให้น้ำหนักเพิ่มกลับขึ้นมาอีก นอกจากนั้นการออกกำลังกายแบบแอโรบิก (Aerobic exercise) อย่างต่อเนื่อง ยังช่วยเพิ่มสมรรถภาพการทำงานหรือความฟิตของหัวใจ พร้อมทั้งช่วยให้ระดับไขมันในเลือดและความดันโลหิตดีขึ้น
30 ต.ค. 63 7,436 ครั้ง ไม่ว่าคนผอม หรือคนอ้วน เสี่ยงคอเลสเตอรอลสูงได้ทั้งสิ้น ซึ่งพอคอเรสเตอรอลสูง ก็จะทำให้เสี่ยงเกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจได้ในที่สุด ทางที่ดี มาหนีคอเรสเตอรอลตามนี้กันดีกว่า!!