30 เม.ย. 64 2,614 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เผยกลุ่มวัยทำงานมีภาวะอ้วน กินอาหารไม่ถูกหลักโภชนาการและมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ หวั่นสุขภาพแย่ระยะยาว แนะกินอาหารถูกหลักโภชนาการ หมั่นออกกำลังกายสม่ำเสมอ ช่วยลดเสี่ยงการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
28 เม.ย. 64 2,712 ครั้ง จากการสังเกตผู้เสียชีวิต จากการระบาดของโควิด 19 ระลอกใหม่ พบว่า ปัจจัยเสี่ยงส่วนใหญ่ ได้แก่ "โรคอ้วน" รวมถึงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ซึ่งอยู่ใน กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) หลายรายเป็นผู้ที่มี "อายุน้อย" ภาพรวมในระลอกเดือนเม.ย. พบผู้เสียชีวิตมีอายุเฉลี่ย 29 ปี ต่างจาก การระบาดระลอกที่ผ่านมาซึ่งผู้เสียชีวิต ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว
15 มี.ค. 64 3,416 ครั้ง ภาวะอ้วนในประเทศไทย พุ่งสูงขึ้นทุกๆปี และได้สูงขึ้นคู่ขนานไปพร้อมๆกับอัตราการเจ็บป่วยและเสียชีวิตของคนไทย อันเกิดจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือ NCDs ที่มาจากต้นเหตุของความอ้วน ทั้งๆที่กระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ระดมการรณรงค์ลดอ้วนลดพุง และ NCDs ติดต่อกันมานานนับสิบกว่าปี
09 มี.ค. 64 5,829 ครั้ง ไอเอฟ คีโต โยโย่เอฟเฟ็กต์... ล้วนเป็นคำศัพท์ที่เชื่อว่าหลายคนคุ้นหูเป็นอย่างดี และอาจจะเคยเสิร์ชหาข้อมูลความหมายว่าคืออะไร เพราะล้วนแล้วแต่เกี่ยวกับ "การลดน้ำหนัก" ซึ่งเป็นหัวข้อที่ทุกเพศทุกวัยให้ความสนใจ ทว่าการลดน้ำหนักสำหรับใครหลายคน กลับไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะแม้ว่าจะตั้งมั่นและตั้งใจมากี่ครั้ง ก็มักจะล้มเหลวอยู่เสมอ
08 มี.ค. 64 3,230 ครั้ง ธ.จับมือ ศธ.ปรับเกณฑ์เติบโตเด็กไทยชุดใหม่ พบอ้วนเกินร้อยละ 10 เตี้ยร้อยละ 5 เสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง วางเป้าหมาย 15 ปีข้างหน้า ชายวัย 19 ปี ต้องสูง 180 หญิง 170 ซม. กรมอนามัย ส่งมอบเกณฑ์ใหม่ให้เครือข่ายใช้ขับเคลื่อนดูแลเด็กวัยรุ่นให้โภชนา การดี สมส่วนมากขึ้น ลดปัญหาลงพุงทั่วประเทศ
04 มี.ค. 64 8,141 ครั้ง สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับ เครือข่ายคนไทยไร้พุง จัดเสวนาถอดบทเรียนสถานการณ์โรคอ้วนในประเทศไทย เนื่องใน "วันอ้วนโลก" (World Obesity Day) ซึ่งตรงกับวันที่ 4 มีนาคม เพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงภัยเงียบที่แฝงมากับพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมจนน้ำหนักเกินและเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ (NCDs : non-communicable diseases)
01 มี.ค. 64 12,342 ครั้ง การเพิ่มกิจกรรมและการออกกำลังกาย จะช่วยให้การลดน้ำหนักมีประสิทธิภาพป้องกันการลดลงของมวลกล้ามเนื้อ และช่วยไม่ให้น้ำหนักเพิ่มกลับขึ้นมาอีก นอกจากนั้นการออกกำลังกายแบบแอโรบิก (Aerobic exercise) อย่างต่อเนื่อง ยังช่วยเพิ่มสมรรถภาพการทำงานหรือความฟิตของหัวใจ พร้อมทั้งช่วยให้ระดับไขมันในเลือดและความดันโลหิตดีขึ้น
30 ต.ค. 63 7,430 ครั้ง ไม่ว่าคนผอม หรือคนอ้วน เสี่ยงคอเลสเตอรอลสูงได้ทั้งสิ้น ซึ่งพอคอเรสเตอรอลสูง ก็จะทำให้เสี่ยงเกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจได้ในที่สุด ทางที่ดี มาหนีคอเรสเตอรอลตามนี้กันดีกว่า!!
20 ต.ค. 63 11,523 ครั้ง ความอ้วนนั้น นอกจากจะมาจากพฤติกรรมการกินที่ไม่เหมาะสม พันธุกรรม หรือโรคบางโรคแล้ว ‘การนอนดึก’ ก็เป็นปัจจัยทำให้น้ำหนักพุ่งได้เช่นกัน แถมยังส่งผลต่อความสูงของเราอีกด้วย
23 ก.ย. 63 3,923 ครั้ง ปัจจุบันเด็กไทยติดอันดับการเพิ่มจำนวนเด็กอ้วนเร็วที่สุดในโลก โดยในปี 2561 พบเด็กอายุ 6-14 ปี ร้อยละ 11.1 เริ่มอ้วน และในปี 2562 มีเด็กเริ่มอ้วนเพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ 11.7 รวมถึงจากการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียน สำนัก ทันตสาธารณสุข ปี 2563 พบว่าเด็กอายุ 12 ปี ร้อยละ 52 ดื่มน้ำหวานและน้ำอัดลม มากกว่า 2 ครั้งต่อวัน และร้อยละ 28.9 กินขนมมากกว่า 2 ครั้งต่อวัน
20 ก.ค. 63 8,934 ครั้ง หนึ่งในอาหารที่เป็นที่นิยมของคนไทยคือ “หมูกรอบ” ไม่ว่าจะเป็นข้าวหมูกรอบ หมูกรอบผัดพริกแกง หมูกรอบผัดกะเพรา หมูกรอบผัดพริกขิง ก๋วยจั๊บใส่หมูกรอบ และอื่นๆ จากข้อมูลของสำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธาณสุข ระบุว่าพลังงานจากหมูกรอบ 100 กรัม (7-10 ชิ้นคำ) ให้พลังงานประมาณ 385 -420 แคลอรี่ไขมัน 30 กรัม โดยหากเป็นข้าวหมูกรอบพลังงานก็จะเพิ่มขึ้น เป็น 550-600 แคลอรี่ และหากเป็นเมนูหมูกรอบที่มีการนำไปผัดกับน้ำมันก็จะทำให้ยิ่งเพิ่มพลังงานมากขึ้น
26 ธ.ค. 62 2,126 ครั้ง ช่วงเทศกาลปีใหม่นี้หากรับประทานเกินความต้องการของร่างกาย เสี่ยงเป็นโรคอ้วนและโรคแทรกซ้อน แนะควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ลดหวาน มัน เค็ม และเพิ่มการออกกำลังกาย ซึ่งจะสามารถช่วยลดความเสี่ยงของโรคต่างๆได้
18 ธ.ค. 62 2,762 ครั้ง คนไทยสุขภาพดี เผยปลายปี 61 พบค่าดัชนีมวลกายปกติ มีแนวโน้มลดลง มีภาวะอ้วนร้อยละ 31.5 ท้วมร้อยละ 19.2 ส่อมีความเสี่ยงด้านสุขภาพมากขึ้น
03 ธ.ค. 62 11,890 ครั้ง โรคอ้วนในเด็กส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ร้ายแรงต่างๆมากมาย เช่น ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ เกิดไขมันอุดตันในเส้นเลือด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจโต การป้องกันโรคอ้วนในเด็กจึงเป็นเรื่องสำคัญมาก
11 ก.ค. 62 10,886 ครั้ง มพบ.เปิดผลตรวจ "ชานมไข่มุก" 25 ยี่ห้อ พบใส่น้ำตาลสูงเกินพิกัด มีเพียง 2 ยี่ห้อที่น้ำตาลไม่เกิน 6 ช้อนชา ชี้ดื่มมากทำร่างกายพัง เสี่ยงอ้วน เบาหวาน ฟันผุ ส่วนสารกันบูดเจอทุกยี่ห้อแต่ไม่เกินมาตรฐาน ตรวจไม่พบตะกั่วในไข่มุก
05 มิ.ย. 62 3,462 ครั้ง เรื่องเล่าจากงาน "อย่าปล่อยให้เด็กอ้วน (ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก และผลไม้) ปีที่ 3" เมื่อวันเสาร์ที่ 25 พฤษภาคม 2562