10 มิถุนายน 2568 18 ครั้ง ทุกคนรู้จักเกลือ... แต่ไม่ใช่ทุกคนจะรู้จัก "โซเดียม" หลายคนระวังอาหารเค็ม คิดว่าไม่เติมเกลือก็พอ แต่จริง ๆ แล้ว โซเดียมเป็นตัวการหลัก อ่านต่อ
30 มิถุนายน 2568 26 ครั้ง "โรคพยาธิชอนไชผิวหนัง" พบได้บ่อยในผู้ที่เดินเท้าเปล่า แนะนำให้สวมรองเท้าขณะออกจากบ้านเสมอ หลีกเลี่ยงการนั่งหรือสัมผัสบนดินทราย อ่านต่อ
03 ม.ค. 61 9,811 ครั้ง อย่ามองข้ามเด็ดขาดเมื่อถูกสุนัขกัด แม้จะเป็นสุนัขที่เลี้ยงไว้ ควรรีบไปโรงพยาบาล ฉีดวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้า
03 ม.ค. 61 6,712 ครั้ง “ภาวะช็อก”เป็นสภาวะที่เลือดไปเลี้ยงเซลล์ต่างๆ ของร่างกายไม่เพียงพอ มีอาการเหงื่อออก ตัวเย็น ซีด กระสับกระส่าย หายใจหอบหรือหายใจเร็ว ดิ้น ชีพจรเบา และต่อมาจะไม่รู้สึกตัวและเสียชีวิตหากช่วยไม่ทันการ
28 ธ.ค. 60 19,948 ครั้ง เพียงแค่ช่วงเริ่มต้นฤดูหนาว ทำให้มีผู้หนาวและเสียชีวิตไปหลายราย สาเหตุการเสียชีวิตนั้น นอกจากปัจจัย อาทิ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป หรือมีโรคประจำตัวแล้ว ยังมีอีกปัจจัยหนึ่งที่ต้องระวังนั่นคือ “ภาวะตัวเย็นเกิน” จากการที่ร่างกายมีอุณหภูมิลดต่ำลงอย่างรวดเร็วจากการสัมผัสอากาศที่นาวเย็นจนส่งผลให้ระบบหรืออวัยวะต่าง ๆ ทำงานไม่ปกติ จนนำไปสู่การเสียชีวิต
27 ธ.ค. 60 7,048 ครั้ง วิถีชีวิตที่เร่งรีบ ไม่ค่อยมีการเคลื่อนไหวร่างกาย และกินอาหารปรุงสำเร็จซึ่งมักจะมีผักและผลไม้น้อย โดยเฉพาะผู้ที่ทำงานนั่งโต๊ะหรือใช้ชีวิตในเมือง มักมีปัญหาท้องผูกทำให้รู้สึกอึดอัด ควรบริโภคใยอาหารเพิ่มขึ้นจากผักและผลไม้ และหลีกเลี่ยงการใช้ยาระบาย
25 ธ.ค. 60 36,255 ครั้ง เกิดจากการรับประทานอาหาร หรือน้ำที่มีการปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส หรือไข่ตัวอ่อนหนอนพยาธิที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหาร หรือสารพิษที่พบได้ตามพืชและสัตว์ เช่น เห็ดพิษ สบู่ดำ มะกล่ำตาหนู สาหร่ายบางสายพันธ์ คางคก ปลาปักเป้า แมงดาทะเล และปลาทะเลบางชนิด
25 ธ.ค. 60 3,886 ครั้ง มักพบมากในคนที่มีอายุมากกว่า 30 ปี โรคนี้เกิดจากการที่ผนังด้านในของหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงหัวใจ และตับแข็งตัว เนื่องจากมีไขมันสะสมในผนังของหลอดเลือดทำให้หลอดเลือดหัวใจค่อยๆ ตีบลงจนถึงอุดตัน ผู้สูงอายุทุกคนมักมีภาวะหลอดเลือดแข็งตัว ซึ่งเป็นความเสื่อมตามธรรมชาติ สำหรับวัยกลางคน 40-50 ปี ก็อาจเป็นโรคหัวใจขาดเลือดได้ ยิ่งถ้าเป็นคนที่สูบบุหรี่ คนอ้วน คนที่เครียดง่าย ขาดการออกกำลังกาย จะยิ่งมีความเสี่ยงมากกว่าคนทั่วไป
25 ธ.ค. 60 7,090 ครั้ง กรดไหลย้อนเป็นโรคที่น้ำย่อยหรือกรดในกระเพาะอาหารไหลย้อนไปที่หลอดอาหาร เนื่องจากความผิดปกติของหูรูดหลอดอาหารทำให้เกิดการอักเสบ มักพบในคนทำงานที่อาศัยอยู่ในเมืองใหญ่ สาเหตุจากการกินอาหารเย็นดึกแล้วเข้านอนทันทีหลังอาหาร ดื่มแอลกอฮอล์/น้ำอัดลม อาการที่พบคือ จุกแน่น ปวดแสบร้อนบริเวณหน้าอก เรอบ่อย รู้สึกขมในคอ อาจมีอาการเจ็บคอหรือไอเรื้อรัง
22 ธ.ค. 60 1,360 ครั้ง เราจะเห็นว่าช่วงระยะ 6 ปีในวัยเรียน ระหว่างทางเป็นหัวเลี้ยวหัวต่อของการเป็นเด็กกับวัยรุ่น ในช่วงเชื่อมต่อของวัย ความเป็นเด็กก็คือเด็ก
22 ธ.ค. 60 3,787 ครั้ง ดื่มน้ำอุ่นและพักผ่อน เพราะจะทําาให้ร่างกายฟื้นตัวได้เร็ว แต่หากมีอาการเจ็บคอ น้ำมูกไหล จาม ปวดหัว ครั่นเนื้อครั่นตัวจนรําคาญ ควรปรึกษาแพทย์เพื่อหาวิธีที่เหมาะสมในการบรรเทาอาการนั้น
22 ธ.ค. 60 2,241 ครั้ง ยาปฏิชีวนะใช้ได้ผลกับอาการท้องเสียที่มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อแบคทีเรียเท่านั้น ส่วนอาการท้องเสียจากสาเหตุอื่น เช่น ติดเชื้อไวรัสหรืออาหารเป็นพิษ การใช้ยาปฏิชีวนะจะไม่ได้ผล อีกทั้งอาการท้องเสียจากแบคทีเรียนั้นพบน้อยมาก การกินยาปฏิชีวนะทุกครั้งที่ท้องเสียจึงเป็นการสิ้นเปลืองเงินทองและเสี่ยงต่อการแพ้ยากับเชื้อดื้อยา
22 ธ.ค. 60 8,675 ครั้ง การนวดเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยคลายเครียดคลายปวดเมื่อยได้ดีซึ่งคนส่วนใหญ่มักนิยมเข้าร้านนวดแผนไทยหรือสปาแต่สำหรับผู้ที่ไม่มีเวลามากนักการนวดบำบัดด้วยตัวเองก็ทำได้เช่นกันไม่ได้ยากอย่างที่คิดและสามารถทำได้ทุกเวลาตามแต่ความต้องการ
22 ธ.ค. 60 4,262 ครั้ง เมื่อลูกน้อยพ้นวัยเด็กเล็ก อะไร ๆ ก็เปลี่ยนแปลงไป ลูกขึ้นชั้นประถมแล้ว ต้องช่วยเหลือตัวเองเยอะขึ้น สังคมก็กว้างขึ้น เรียนก็ยากกว่าเดิม ที่ตื่นเต้นกว่าลูกก็พ่อแม่นี่แหละไม่รู้ลูกเราจะสู้เด็กคนอื่นได้ไหมนกน้อยพร้อมบินสู่โลกกว้าง8กาลเวลาเป็นเรื่องมหัศจรรย์ เปลี่ยนเด็กเล็ก ๆ วัยเตาะแตะคนหนึ่งให้ค่อย ๆ เติบโตขึ้น
22 ธ.ค. 60 4,671 ครั้ง เด็กจะเติบโตขึ้นมาโดยมีความฉลาดทางอารมณ์ รับมือกับความเครียดหรือปัญหาในชีวิตประจำวันได้ และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้นั้น การเลี้ยงดูช่วง 6 ปีแรกเป็นสิ่งสำคัญซึ่งพ่อแม่สามารถช่วยให้ลูกมีพัฒนาการหรือความฉลาดทางอารมณ์ผ่านการเลี้ยงดูและการสร้างกิจกรรมที่เหมาะกับเด็กแต่ละวัย
20 ธ.ค. 60 5,819 ครั้ง ภาวะซึมเศร้าคือการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ชนิดหนึ่ง อาการหลักๆ คือผู้สูงอายุจะรู้สึกเบื่อหน่ายหรือเศร้า หรือทั้งสองอย่าง โดยอาจมีการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมการกินการนอน เรี่ยวแรง สมาธิ รวมถึงความรู้สึกที่มีต่อตัวเองร่วมด้วย
20 ธ.ค. 60 9,052 ครั้ง ถ้าท่านพบว่าผู้สูงอายุเป็น “โรคซึมเศร้า” ควรพาไปพบแพทย์ โดยแพทย์จะให้ยารักษาโรคซึมเศร้า บางรายอาจได้รับยาอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น ถ้ามีอาการประสาทหลอนหรือความคิดหลงผิด แพทย์จะให้ยารักษาโรคจิตด้วย รายที่นอนไม่หลับอย่างรุนแรง แพทย์จะให้ยาช่วยหลับ บางรายอาจต้องรักษาด้วยการพูดคุยกับจิตแพทย์หรือนักจิตวิทยา ซึ่งบางครั้งทําได้ลําบาก เพราะผู้สูงอายุอาจมีอุปสรรคเรื่องการเดินทาง บางรายอาจจําเป็นต้องนอนโรงพยาบาล
18 ธ.ค. 60 5,861 ครั้ง เข่าเป็นอวัยวะสำคัญในร่างกายสำหรับการเดินเหินไม่แพ้เท้า เราจึงควรให้ความสำคัญในการดูแลเข่า ป้องกัน หรือหากเป็นแล้วต้องรักษาตัวอย่างไร รวมถึงเคล็ดไม่ลับท่าบริการข้อเข่าง่ายๆ ฝึกได้ด้วยตนเอง