24 ก.ย. 63 6,290 ครั้ง คำ ว่า "ครอบครัว" หลายคนอาจวาดฝันว่า "พ่อ-แม่-ลูก" ต้องใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างสมบูรณ์แบบ แต่ในความเป็นจริงสภาพความบีบคั้นทางสังคม เศรษฐกิจ อาจไม่เป็นดังหวัง เพราะต้นทุนชีวิตที่แตกต่างกัน ภาระ หน้าที่ สถานะทางการเงิน ล้วนเป็นปัจจัยที่ทำให้พ่อ-แม่ต้องไกลลูก ถูกเลี้ยงดูโดยปู่ ย่า ตา ยาย หรือญาติ ๆ จึงเป็นที่มาของการตั้งคำถามว่า.การจัดการพื้นที่เรียนรู้สำหรับครอบครัว ควรเป็นแบบไหน และใครควรเป็นแกนนำหลักในการกำหนดทิศทาง เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะครอบครัวที่ดีในสังคมไทย
15 ก.ย. 63 6,071 ครั้ง เพียงเสี้ยววินาทีหากไม่ระมัดระวัง อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้เสมอ เช่นเดียวกับกรณีของ น้องโทน พัชรพล แดงสีดา นายกสโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ หนึ่งในผู้สูญเสียทั้งคนรักและรุ่นน้องจากอุบัติเหตุบนท้องถนน เล่าว่าก่อนที่จะมาเข้าร่วมเป็นสมาชิกในเครือข่ายพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นนักศึกษาคนหนึ่งที่ใช้รถจักรยานยนต์ในการขับขี่เดินทางไปมหาวิทยาลัยหรือไปตามสถานที่ต่างๆและเมื่อไปที่ใกล้ๆ มักจะไม่สวมหมวกกันน็อค บางครั้งซ้อนสาม
31 ส.ค. 63 5,968 ครั้ง แม้ปัจจุบันระบบหลักประกันสุขภาพของไทยซึ่งมีอยู่ 3 ระบบ คือ ประกันสังคม สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ และหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า หรือบัตรทอง จะครอบคลุมประชาชนแทบทุกคนในประเทศแล้ว แต่ด้วยเงื่อนไขตั้งต้นที่ต้องมีสถานะเป็นคนไทย ทำให้ยังมีคนจำนวนหนึ่งที่เข้าไม่ถึงสิทธิเหล่านี้ โดยเฉพาะคนไทยที่มีปัญหาสถานะทางทะเบียน ซึ่งเกิดจากหลายปัจจัย เช่น พ่อแม่ไม่ไปแจ้งเกิดตั้งแต่ยังเด็ก หรือทำบัตรประชาชนหายแล้วไม่ได้ไปทำบัตรใหม่ เป็นต้น
28 ส.ค. 63 17,057 ครั้ง จากข่าวความรุนแรงในครอบครัวจะเห็นได้ว่า ผู้หญิงที่มีบทบาท "แม่-เมีย" ต้องแบกรับทั้งความคาดหวังของสังคมที่ต้องดูแลครอบครัว ยังต้องรองรับอารมณ์ของสามี บางรายถูกทำร้ายร่างกาย บางรายถูกฆ่า บางรายสามีข่มขืนลูก หรือคนในครอบครัวข่มขืนลูก
21 ส.ค. 63 7,518 ครั้ง ศูนย์พัฒนาองค์ความรู้ด้านกิจกรรมทางกายประเทศไทย (TPAK) สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดผลสำรวจพบโควิด–19 ฉุดการเคลื่อนไหวร่างกายหรือการมีกิจกรรมทางกายในกลุ่มผู้สูงอายุ ลดฮวบ เหลือร้อยละ 52.9 ต่ำสุดในรอบ 9 ปี พร้อมประสานพลังสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จัดทำคู่มือ “กิจกรรมทางกายประจำบ้าน” สำหรับทุกกลุ่มวัย ตอบโจทย์ชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ร่วมขับเคลื่อนโครงการเปิดเมือง ปลอดภัย เร่งฟื้นกิจกรรมทางกายผู้สูงอายุอย่างเหมาะสม ยกระดับคุณภาพชีวิตทั้งในมิติความแข็งแรงของร่างกายและสร้างภูมิคุ้มกันโรค
21 ส.ค. 63 9,269 ครั้ง เมื่อ "มือถือ" กลายเป็นอวัยวะที่ 33 ของมนุษย์และการใช้ชีวิตของผู้คนไม่ว่าจะทำงาน เรียน ติดต่อสื่อสาร และความบันเทิงทุกรูปแบบอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ต ปฏิเสธไม่ได้ที่เด็กยุคใหม่จะเกิดและเติบโตมาพร้อมกับเทคโนโลยีเหล่านี้ ทว่าทุกสิ่งย่อมมีด้านบวกและด้านลบ
10 ส.ค. 63 4,994 ครั้ง สุขภาพที่ดีใคร ๆ ก็อยากมี แต่วิถีการใช้ชีวิตในปัจจุบันมีสิ่งยั่วยุต่าง ๆ มากมาย โดยเฉพาะเรื่องอาหารการกิน ซึ่งถือเป็นหนึ่งในปัจจัยหลักสำคัญต่อร่างกาย การจะเกิดผลดีหรือผลเสียนั้น ขึ้นอยู่กับการเลือกรับประทานอาหารในปริมาณที่เหมาะสมและถูกตามหลักโภชนาการ เพราะร่างกายจะนำไปพัฒนาและซ่อมแซมในส่วนต่าง ๆ ให้แข็งแรง นี่คือที่มาของกิจกรรมเวิร์คช้อป “ซี่รีย์ข้าวไทย” กับการทำ “มัฟฟินฟักทองข้าวหอมนิลออร์แกนิก”
05 ส.ค. 63 5,602 ครั้ง ครบรอบ 10 ปี มติ ครม. 3 สิงหาคม 2553 พี่น้องกะเหรี่ยง กลุ่มชาติพันธุ์ และภาคีเครือข่ายกว่า 10 หน่วยงานร่วมจัด "มหกรรมไร่หมุนเวียนและการสถาปนาพื้นที่วัฒนธรรมพิเศษจังหวัดแม่ฮ่องสอนฯ" เพื่อร่วมกันนำเสนอรูปธรรมการจัดการตามมติ ครม. ในการฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยงในด้านต่าง ๆ งและผลักดันพื้นที่เขตวัฒนธรรมพิเศษ ฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยงเป็นพื้นที่ต้นแบบทั้งจังหวัดแม่ฮ่องสอน
31 ก.ค. 63 6,495 ครั้ง อาจเป็นกระจกอีกบานที่สะท้อนคุณภาพชีวิตเด็กไทยเทียบกับเด็กทั่วโลก เมื่อผลการศึกษาจาก"โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนเพื่อก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21" ซึ่งจัดทำโดยศูนย์พัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ภายใต้การสนับสนุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) ที่กำลังสะท้อนว่า การพัฒนาคุณภาพเด็กไทย ไม่อาจมองเฉพาะมิติด้าน "สุขภาพ" หากแต่ยังครอบคลุมบริบทและความหลากหลายมิติของชีวิตเด็ก
31 ก.ค. 63 5,628 ครั้ง ประเทศไทยจัดได้ว่าเป็นประเทศที่มีประชาชนชื่นชอบในเรื่องของการออกกำลังกายเป็นจำนวนมาก แต่ว่าจากผลกระทบของโควิด-19 ที่ผ่านมา ทำให้คนเราต้องปรับวิถีชีวิตในการออกกำลังกายใหม่ ดังที่เราจะได้เห็นคนออกกำลังกายจากที่บ้านกันมากขึ้น
24 ก.ค. 63 5,890 ครั้ง เมื่อเข้าสู่วัยทำงาน เวลาส่วนใหญ่ของชีวิตต้องอยู่ที่ทำงาน อาจจะมีบางช่วงเวลาที่เส้นแบ่งของงานและครอบครัวเริ่มเบลอ ๆ เวลาทำงานกัดกินเวลาครอบครัว จะดีกว่าไหมถ้ามีที่ทำงานซึ่งช่วยให้คุณสามารถจัดสรรเรื่องต่าง ๆ ในชีวิตได้ดีขึ้น
23 ก.ค. 63 5,820 ครั้ง เปิดโครงการ “ส่งเสริมผลิตภาพและสุขภาวะองค์กรใน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม” (SHAP) เฟส 2 หนุนผู้ประกอบการ SMEs ใช้แนวคิดองค์กรสุขภาวะ เพิ่มผลิตภาพองค์กร ชี้ค่าเฉลี่ยความสุขพนักงานเพิ่ม 8.15% ดันศักยภาพในกระบวนการผลิตโต 7.84% คิดเป็นผลลัพธ์แทนเงินคิดเป็นมูลค่าสูงถึง 245 ล้านบาท ทั้งนี้ กสอ. ได้จัดพิธีมอบรางวัลวิสาหกิจต้นแบบ โครงการ SHAP ประจำปี 2562 รวม 65 กิจการ
20 ก.ค. 63 6,014 ครั้ง ตั้งแต่เกิดการแพร่ระบาดของโควิด-19 ไม่มีอาชีพไหนที่จะไม่ได้รับผลกระทบ ยิ่งอาชีพบริการ รับจ้างต่างๆ อย่าง มอเตอร์ไซต์ จากเดิมที่รายได้อย่างต่ำ700-800บาทต่อวัน เหลือเพียงไม่กี่ร้อยบาท สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) อีกหนึ่งหน่วยงานที่ได้จัดกิจกรรมเพื่อป้องกัน รณรงค์สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาวะการป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในแต่ละอาชีพ แต่ละหน่วยงาน ชุมชนภายใต้ โครงการพลเมืองไทยสู้ภัยวิกฤต ซึ่งมีทั้งหมด55 โครงการ และโครงการตามสั่ง-ตามส่ง เป็น1ในโครงการที่ได้รับความร่วมมือและเห็นผลการดำเนินการที่ชัดเจน
17 ก.ค. 63 5,580 ครั้ง รู้ทั้งรู้ว่าอบายมุขนำไปสู่ความเสื่อมของชีวิต แต่คนจำนวนไม่น้อยยังหลงใหลหมกมุ่นไม่ลืมหูลืมตา นั่นเพราะความโลภที่มากเกินเหตุ บางคนต้องกู้หนี้ยืมสิน กลายเป็นคนลักขโมย ขี้โกหกหลอกลวง ในที่สุดชีวิตก็จมอยู่กับวังวนแห่งความทุกข์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
16 ก.ค. 63 6,606 ครั้ง สสส.จัดแถลงข่าวเสวนาชีวิตวิถีใหม่ของเด็กไทย ทพญ.จันทนา อึ้งชูศักดิ์ คณะกรรมการแผนคณะที่ 5 สสส. แจงผลสำรวจสุขภาพคนไทยทุกๆ 5 ปี ผู้ใหญ่และเด็กกินผักผลไม้น้อยกว่าจำนวนแคลอรีที่องค์การอนามัยโลกกำหนดไม่ถึงครึ่งหนึ่ง ทั้งๆ ที่เป็นเมืองผักผลไม้พ่อแม่ฝึกลูกปลูกพืชสวนครัวทำกับข้าวกินเองเพื่อโภชนาการที่ดี สถาปนิกรั้วจามจุรีฟันธงโควิด-19 วิกฤติใหญ่ที่สุดของคนอายุ 90 ปีลงมา คนทั้งโลกต้องปรับวิธีคิดใกล้ชิดธรรมชาติ เว้นระยะห่างทางสังคม ออกแบบเล่นเรียนรู้ที่บ้านและโรงเรียน โรงเรียนในพื้นที่เมืองมีความพร้อมที่จะเรียนทางออนไลน์แบบ Realtime มากกว่า ระบบอินเทอร์เน็ตค่อนข้างเสถียร
16 ก.ค. 63 6,113 ครั้ง การวิเคราะห์ข้อมูลของศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบใน พ.ศ. 2560 พบว่า คนไทยเสียชีวิตเพราะบุหรี่ถึง 72,656 คน โดยโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการตายหลัก ยิ่งในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ผู้ที่สูบบุหรี่ รวมถึงบุหรี่ไฟฟ้าด้วย จะมีความเสี่ยงในการได้รับเชื้อไวรัสโควิด 19 แล้วมีอาการรุนแรงมากกว่าคนที่ไม่สูบบุหรี่ถึง 14 เท่า และถ้าผู้ติดเชื้อมีการสูบบุหรี่ก็จะยิ่งเสี่ยงในการแพร่เชื้อไวรัสโควิด 19 ไปสู่คนในครอบครัวและคนรอบข้างได้อีกด้วย