08 ส.ค. 67 1,391 ครั้ง มะเร็งช่องปากติดอันดับ 1 ใน 10 โรคพบบ่อยในไทย คือ ชนิดมะเร็ง Squamous cell carcinoma ซึ่งพบได้ประมาณร้อยละ 96 ของมะเร็งในช่องปาก
07 มิ.ย. 67 1,394 ครั้ง แปรงฟัน คือ การทำความสะอาดฟันขั้นพื้นฐาน ที่ควรทำให้เป็นนิสัย วันละ 2 ครั้ง คือตอนเช้าและก่อนนอน เพื่อคุณภาพช่องปากที่แข็งแรง และความมั่นใจในการยิ้มหรือพูดคุยเข้าสังคม อีกทั้งยังช่วยให้ลดความเสี่ยงสารพัดโรค จากปากและฟัน ป้องกันการลุกลามใหญ่โตยากจะแก้ไขอีก
21 ต.ค. 66 1,067 ครั้ง สสส. สานพลังสถาบันยุวทัศน์ฯ เตือนคนรุ่นใหม่ “สูบบุหรี่-บุหรี่ไฟฟ้า” เสี่ยงมะเร็งช่องปาก คนไทยป่วยสูงเป็นลำดับที่ 6 มะเร็งทั้งหมด พร้อมจัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้สุขภาพป้องปาก ให้บริการตรวจสุขภาพช่องปากฟรี รณรงค์รับวันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ ปี 2566
21 มิ.ย. 66 20,211 ครั้ง การทำความสะอาดช่องปาก เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่ทุกคนควรให้ความสำคัญ หากไม่ได้รับการดูแล อาจมีเศษอาหารติดอยู่บริเวณซอกหลืบของต่อมทอนซิลจนเกิดการรวมตัวของแบคทีเรียและเชื้อราจับตัวกันเป็นก้อนแข็งที่เรียกว่า "นิ่ว" บริเวณต่อมทอนซิล
23 มี.ค. 66 16,024 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ชวนคนไทยใส่ใจดูแล สุขภาพช่องปาก ด้วยการ แปรงฟันสูตร 2-2-2 และควรพบทันตแพทย์เป็นประจำทุก 6 เดือน เพื่อรับการตรวจสุขภาพช่องปาก เนื่องในวันสุขภาพช่องปากโลก
19 ก.พ. 66 18,326 ครั้ง หนังสือ The 100 Year Life ระบุไว้ว่า มนุษย์ในรุ่นของเรา อาจจะกลายเป็นมนุษย์ยุคแรกที่จะสามารถมีชีวิตได้ยืนยาวมากถึง 100 ปี เนื่องจากวิทยาศาตร์ทางการแพทย์ที่ก้าวหน้าขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้เรามีชีวิตอยู่บนโลกนี้ได้นานขึ้น ภายในหนังสือ ยังระบุถึง แนวทางการใช้ชีวิต ตลอดจนถึงการวางแผนทางการเงิน เพื่อให้ช่วงชีวิตร้อยปีของเรามีคุณภาพ และยั่งยืน
25 พ.ย. 65 1,858 ครั้ง กรมการแพทย์ โดยสถาบันทันตกรรม แนะการครอบฟัน ช่วยฟันที่เสียหาย แตกหัก หรือฟันที่ได้ผ่านการรักษา คลองรากฟัน กลับมาแข็งแรง มีประสิทธิภาพในการบดเคี้ยว และสร้างความมั่นใจ
27 ต.ค. 65 1,912 ครั้ง สสส.- มสช.-สช. สานพลังพัฒนาสุขภาพช่องปากไทย ส่งเสริมประชาชนดูแลสุขภาพช่องปากได้ด้วยตัวเอง ลดความเหลื่อมล้ำ-เข้าถึงบริการได้ง่าย-ราคาเป็นธรรม สร้างระบบสุขภาพช่องปากที่ทันสมัยเหมาะสมกับทุกช่วงวัย
30 ก.ย. 65 2,441 ครั้ง กรมการแพทย์ โดยสถาบันทันตกรรม เตือนปล่อยให้ฟันผุหรือเป็นโรคปริทันต์อักเสบไม่ไปรับการรักษา อาจติดเชื้อรุนแรง อักเสบ เป็นหนอง ส่งผลกระทบต่ออวัยวะสำคัญ เช่น ใบหน้า โพรงไซนัส ลำคอ สมอง หรือเสี่ยงลุกลามไปยังระบบทางเดินหายใจ ปอด
24 ธ.ค. 64 3,684 ครั้ง กรมการแพทย์ โดยสถาบันทันตกรรม เตือนผู้สูงอายุหรือผู้ที่ใส่ฟันปลอม หากพบฟันปลอมชำรุด ขยับ หลวมหรือหลุดง่าย ไม่ควรใส่หรือใช้งานต่อ ควรรีบไปพบทันตแพทย์เพื่อทำการแก้ไข อย่าปล่อยทิ้งไว้ อาจอันตรายถึงชีวิต หากฟันปลอมหลุดลงในคอหรือกลืนลงช่องท้อง