30 เม.ย. 64 3,377 ครั้ง แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคติดเชื้อ ยืนยันวัคซีนเป็นอาวุธสำคัญในการต่อสู้กับโควิด-19 และควบคุมการระบาดของโรค ผลข้างเคียงของการเกิดลิ่มเลือดพบประมาณ 4 ราย ในการฉีดวัคซีนแอสตร้าเซนเนก้าล้านโดส ขณะที่เป็นโรคโควิดโอกาสเกิดลิ่มเลือดประมาณ 125,000 คนต่อล้านคน ที่ป่วยเป็นโควิด การฉีดวัคซีนโควิดป้องกันได้ทั้งตัวเอง คนในครอบครัวและต่อชุมชนสังคมได้
23 มี.ค. 64 2,038 ครั้ง กรุงเทพมหานคร เตรียมให้บริการวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่กับประชาชนกลุ่มเสี่ยง 7 กลุ่ม ซึ่งทำการรักษาในโรงพยาบาลสังกัด กทม. และศูนย์บริการสาธารณสุข กทม.ทุกแห่ง โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. - 31 ส.ค. 64
11 มี.ค. 64 144,450 ครั้ง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 นั้น เป็นสถานการณ์ที่สร้างผลกระทบต่อเนื่องให้กับสังคมมาอย่างยาวนาน สิ่งหนึ่งที่เปรียบเสมือนความหวังของคนทั่วโลกรวมทั้งคนไทย ที่จะเข้ามาช่วยทำให้สถานการณ์ดีขึ้น นั่นคือ วัคซีนป้องกันโควิด-19
11 มี.ค. 64 1,708 ครั้ง กระทรวงสาธารณสุข เพิ่มบทบาท 3 หมอ ให้ความรู้และทำความเข้าใจในเรื่องวัคซีนโควิด-19 สำรวจและติดตามกลุ่มเป้าหมายในชุมชน โดยเฉพาะผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป และผู้มีโรคประจำตัว ให้เข้าถึงการรับวัคซีนอย่างทั่วถึง
27 ม.ค. 64 1,718 ครั้ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เผยพร้อมตรวจสอบคุณภาพวัคซีนโควิด-19 ในรูปแบบเชื้อตาย Adenoviral vector และ DNA หรือ mRNA รองรับการขึ้นทะเบียนวัคซีน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในประเทศ
27 ม.ค. 64 1,296 ครั้ง กรณีหลายฝ่ายสงสัยเรื่องการขึ้นทะเบียนวัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย อย. ขอยืนยันความจำเป็นการขึ้นทะเบียนวัคซีนในไทย เพื่อพิจารณาความปลอดภัย คุณภาพ และประสิทธิผลของวัคซีนให้เหมาะสมกับคนไทย โดยต้องผ่านการประเมินของผู้เชี่ยวชาญ สำหรับเรื่องราคาวัคซีน อย. ไม่ได้เป็นผู้กำหนด ขณะนี้ มีบริษัทมายื่นขึ้นทะเบียนแล้ว 2 ราย ส่วนโรงพยาบาลเอกชนสามารถซื้อวัคซีนที่ได้ขึ้นทะเบียนกับ อย.จากผู้รับอนุญาต หรือมาขอเป็นผู้รับอนุญาตขึ้นทะเบียนวัคซีนเองได้
20 ก.ค. 63 2,059 ครั้ง สำหรับการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคพิษสุนัขบ้านั้น จังหวัดสุรินทร์ได้ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชน เน้น “โรคพิษสุนัขบ้าเป็นแล้วรักษาไม่หาย 100%” แต่สามารถป้องกันได้โดยการฉีดวัคซีนป้องกันโรคเมื่อถูกสุนัข แมว กัดข่วน รีบล้างแผลด้วยสบู่และน้ำเปล่าที่สะอาดหลายๆ ครั้ง และใส่ยารักษาแผลสด รีบไปพบแพทย์เพื่อรับการรักษาโดยเร็วที่สุด
01 ก.ค. 63 1,689 ครั้ง เริ่มมีความหวังที่ปลายอุโมงค์ สำหรับประเทศไทย หลัง นายสาธิตปิตุเตชะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ออกมาคาดการณ์ว่าอย่างเร็วสุดประเทศไทยจะมีวัคซีนโควิด-19 ในช่วงกลางปี 2564 ซึ่งเวลานี้มีแนวโน้มที่ดีในการผลิต เพราะอยู่ในช่วงการทดลองกับลิง ส่วนการทดลองกับมนุษย์จะสามารถทดลองได้ปลายปีนี้
20 พ.ค. 63 3,516 ครั้ง องค์การเภสัชกรรม เปิดเผยถึงยารักษาโรคโควิด-19 ว่า องค์การเภสัชกรรมได้สำรองยาเพื่อใช้ในการรักษาโรคโควิด-19 ทั้งในภาวะวิกฤตและระยะยาว รวมทั้งสิ้น 7 รายการ โดยองค์การเภสัชกรรมมีรายการยาที่ผลิตเองอยู่แล้ว 5 รายการ
20 พ.ค. 63 1,664 ครั้ง ความท้าทายของการพัฒนาวัคซีนโควิด-19 คือการบริหารจัดการให้แน่ใจว่าจะมีวัคซีนใช้งานได้อย่างรวดเร็วและจำนวนเพียงพอ ซึ่งต้องเตรียมการทั้งด้านการวิจัยและพัฒนา และการผลิตควบคู่กันไป เช่น การเตรียมโรงงานเพื่อผลิตวัคซีนสำหรับทดสอบในอาสาสมัคร รวมทั้งการวางแผนถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่บริษัทผลิตวัคซีนในประเทศไทย ซึ่งต้องเตรียมการให้เหมาะสมจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายในการผลิตวัคซีนให้เพียงพอสำหรับประเทศภายในปีหน้าได้หากประสบความสำเร็จ
08 พ.ค. 63 2,519 ครั้ง "กลุ่มบุคลากรทางการแพทย์ เป็นกลุ่มที่มีความสำคัญในการดูแลสุขภาพประชาชนและมีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ในขณะปฏิบัติงานได้ทุกสายพันธุ์ หากบุคลากรเจ็บป่วยจะเกิดผลกระทบกับการให้บริการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถานการณ์ที่อาจมีการระบาดของโรคโควิด-19 เนื่องจากตลอด 3 เดือนที่ผ่านมา ทุกคนได้ร่วมกันทำงานอย่างหนัก ห้องปฏิบัติการตรวจตัวอย่างจากผู้ป่วยนับหมื่นๆ ราย ส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยและรักษาพยาบาลอย่างดี"
22 เม.ย. 63 1,917 ครั้ง เมื่อเข้าสู่หน้าฝน จะมีโรคไข้หวัดใหญ่และไข้เลือดออกระบาด ดังนั้นสถานที่ต่างๆ และประชาชนต้องให้ความสำคัญกับการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่รอบบ้านและชุมชนต่างๆ เพราะเป็นการช่วยตัดวงจรการแพร่เชื้อของโรคไข้เลือดออก
08 ต.ค. 62 4,937 ครั้ง โรคคอตีบเป็นโรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งสามารถสร้างพิษ ( exotoxin ) และทำให้เกิดการอักเสบ และมีเนื้อตายเป็นแผ่นหนาในคอหอยหรือหลอดลม ทำให้เกิดการตีบตันของทางเดินหายใจ ผู้ป่วยอาจเสียชีวิตจากทางเดินหายใจอุดตันหรือหัวใจล้มเหลว
30 พ.ค. 62 3,612 ครั้ง การให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุและการป้องกันโดยการฉีดวัคซีน จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยลดการทนทุกข์ทรมานต่อความเจ็บป่วย และลดภาระค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลอีกด้วย