20 พ.ค. 63 2,041 ครั้ง ขณะนี้ใกล้ฤดูฝนมี 2 โรคที่จะมา คือ ไข้เลือดออก อาจสับสนได้ว่าคนมีไข้เป็นโรคอะไร ถ้าไข้เลือดออกจะมีไข้เป็นหลักเป็นไข้สูง โควิดจะมีไข้ มีอาการทางเดินหายใจ ไอ เจ็บคอ ไข้เลือดออกไม่ค่อยมี ตอนนี้ต้องป้องกันไข้เลือดออก เพื่อไม่ให้เกิดความสับสน ฉะนั้นขอให้ประชาชนช่วยกันป้องกันไข้เลือดออก ลด ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ป้องกันยุงกัด ช่วยให้มีจำนวนผู้ป่วยต่ำที่สุด และโรคไข้หวัดใหญ่ ขอให้กลุ่มเสี่ยงไปรับวัคซีนฟรีเพื่อลดความสับสนใน กลุ่มอาการ
26 ธ.ค. 62 3,385 ครั้ง สถานการณ์ไข้เลือดออกและชิคุนกุนยามี แนวโน้มสูงขึ้น สูงกว่า 140,000 คน จำเป็นต้องจัด "วิ่งไล่ยุง" เพื่อให้ทุกพื้นที่ตระหนัก ขณะที่กรมควบคุมโรค แจงการจัดวิ่งใช้งบหลักแสนบาท และในระดับท้องถิ่นใช้งบ สปสช.
12 ก.ย. 62 3,175 ครั้ง โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย ต้องอาศัยการวินิจฉัยที่ถูกต้องและรวดเร็ว เฝ้าระวังผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดและให้การรักษาอย่างเหมาะสม โรคนี้พบบ่อยในฤดูฝน เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเดงกีซึ่งมี 4 ชนิดและมียุงลายเป็นพาหะนำโรคผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็กโตวัยรุ่น และผู้ใหญ่อายุน้อย
26 ส.ค. 62 3,202 ครั้ง โรคที่ติดต่อนำโดยยุงลายของ จ.ลำปาง ยังคงพบผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีแนวโน้มแพร่กระจายไปอีกหลายพื้นที่ โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน โดยสถิติตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 22 สิงหาคม 2562 พบผู้ป่วยโรคที่ติดต่อนำโดยยุงลายไปแล้วจำนวนทั้งสิ้น 635 ราย
08 ส.ค. 62 2,531 ครั้ง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลาเตือนขณะนี้มีแนวโน้มพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกป่วยสูงขึ้นหากผู้ป่วยมีไข้สูง2วันไม่ดีขึ้นหรือไข้ลดแต่อาการแย่ลงอ่อนเพลียซึมปัสสาวะสีเข้มให้รีบพบแพทย์
08 ส.ค. 62 2,107 ครั้ง โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย ต้องอาศัยการวินิจฉัยที่ถูกต้องและรวดเร็ว เฝ้าระวังผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดและให้การรักษาอย่างเหมาะสม โรคนี้พบบ่อยในฤดูฝน เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเดงกีซึ่งมี 4 ชนิดและมียุงลายเป็นพาหะนำโรคผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็กโต วัยรุ่น และผู้ใหญ่อายุน้อย
30 ก.ค. 62 3,803 ครั้ง บึงกุ่ม เตือน ระวังอย่าให้ยุงกัด เนื่องจากในช่วงนี้มีฝนตกอย่างต่อเนื่องในหลายพื้นที่ ทำให้เกิดน้ำขังตามที่ต่างๆ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และเป็นสาเหตุของโรคไข้เลือดออกที่เกิดจากเชื้อไวรัสเดงกีที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค
25 ก.ค. 62 1,933 ครั้ง ระวัง 15 เขตไข้เลือดออกระบาดหนัก ได้แก่ ห้วยขวาง ตลิ่งชันบางกอกน้อย ยานนาวา ธนบุรี จตุจักร ภาษีเจริญ พญาไท คลองสาน มีนบุรี บางนา บางคอแหลม ราษฎร์บูรณะ บางบอน และสัมพันธวงศ์
23 ก.ค. 62 1,849 ครั้ง กทม.เข้มมาตรการป้องกันไข้เลือดออก กำชับสั่งการหน่วยงานเกี่ยวข้องรณรงค์มาตรการป้องกันให้ประชาชน
18 ก.ค. 62 2,856 ครั้ง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เผยช่วงนี้สถานการณ์โรคไข้เลือดออกชะลอตัว เนื่องจากได้ดำเนินการควบคุมอย่างเข้มแข็ง โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน แต่ยังต้องดำเนินการอย่างเข้มข้นทุกพื้นที่ ขอให้ประชาชน ชุมชน และหน่วยงานต่างๆ ร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นมาตรการ “3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค” พร้อมยืนยันว่าประเทศไทยไม่มีไข้เลือดออกสายพันธุ์ใหม่
15 ก.ค. 62 1,768 ครั้ง หากไข้สูง-ปวดตัว-ปัสสาวะสีเข้มรีบพบแพทย์ ขอความร่วมมือประชาชนทุกภาคส่วน จิตอาสา ช่วยกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง
04 ก.ค. 62 4,950 ครั้ง กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาชนจิตอาสาจะร่วมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายก่อนเข้าฤดูฝน ทั้งนี้ข้อมูลของสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 25 มิถุนายน พ.ศ. 2562 พบผู้ป่วยไข้เลือดออก 35,482 ราย เสียชีวิตแล้ว 62 ราย มากกว่าช่วงเดียวกันของปี พ.ศ. 2561 ที่มีผู้ป่วย 22,539 ราย เสียชีวิต 29 ราย
27 มิ.ย. 62 1,922 ครั้ง จังหวัดนครพนม สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ยังคงน่าเป็นห่วง เนื่องจากในปีนี้สภาพอากาศร้อนอบอ้าวและมีฝนตกชุก นำมาซึ่งการขยายพันธุ์ของลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก
27 มิ.ย. 62 2,357 ครั้ง ว่า จ.ตราดน่าเป็นห่วงมาก เนื่องจากพบผู้ป่วยไข้เลือดออกมากถึง 2 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่แล้ว
21 มิ.ย. 62 5,145 ครั้ง เขตสัมพันธวงศ์ แนะเก็บภาชนะน้ำขัง ทำลายแหล่งเพาะยุง หากบุคคลในครอบครัว มีอาการไข้สูงลอยเกิน 2 วัน รีบพบแพทย์
10 มิ.ย. 62 22,590 ครั้ง “ยุงลาย” ถือเป็นแมลงที่รบกวนการใช้ชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะเมื่อยุงลายกัด แล้วฉีดน้ำลายลงไปในบริเวณที่เจาะดูดเลือด บางคนจะมีอาการคัน แต่บางคนอาจมีอาการแพ้จนเกาและเป็นแผลติดเชื้อได้ง่าย นอกจากนี้ในน้ำลายของยุงอาจมีเชื้อโรคที่ก่อให้เกิดโรคต่าง ๆ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อไวรัสซิกา ไข้ปวดข้อยุงลาย เป็นต้น