05 ต.ค. 65 1,748 ครั้ง เผยผลสำรวจ แรงงานไทยสิงห์อมควัน 20.5% สูบหนัก 1-10 มวน/วัน พยายามเลิกแต่ไม่สำเร็จถึง 59% สสส. สานพลัง เครือข่ายสถานประกอบการ HAPPY WORKPLACE หนุนสถานประกอบการปลอดบุหรี่ทั่วไทย 2,000 แห่ง คุ้มครองสุขภาพแรงงานกว่า 3 แสนคน ช่วยแรงงานเลิกบุหรี่มากกว่า 4,000 คน ปักธง ขยายผลโรงงานปลอดบุหรี่ในต่างจังหวัด พัฒนาระบบส่งต่อปรึกษา-บำบัดเลิกบุหรี่
25 ก.ย. 65 1,309 ครั้ง กรมการแพทย์ชี้สารเคมีรั่วไหลทำให้พิษเฉียบพลันและพิษเรื้อรังในกรณีที่ได้รับสะสมเป็นเวลานานโดยอาการพิษเฉียบพลันมีอาการหลายระดับตั้งแต่ระคายเคืองผิวหนัง เยื่อบุทางเดินหายใจ ตา มีน้ำมูก น้ำตาไหล แสบตา แสบคอ แน่นหน้าอก ไอ บางรายสูดดมมาก จะมีคลื่นไส้อาเจียน เดินเซ ซึ่งหากเข้าไปในร่างกายปริมาณมากอาจเสียชีวิตได้ แนะควรมีการป้องกันและซ้อมแผนกรณีฉุกเฉิน เพื่อความปลอดภัยของพนักงาน
26 ก.ค. 65 958 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่เสี่ยงที่เป็นพื้นที่อับอากาศ ควรตรวจสอบ 8 ข้อปฏิบัติสำคัญก่อนปฏิบัติงาน เพื่อความปลอดภัย
19 พ.ค. 65 2,929 ครั้ง เมื่อพูดถึงเรื่องความปลอดภัยของการทำงานในองค์กร ตำแหน่งที่ขาดไม่ได้ และหลายคนอาจเคยได้ยิน นั่นก็คือ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานวิชาชีพ หรือ จป. วิชาชีพนั่นเอง ผู้ซึ่งมีความสำคัญ ทำหน้าที่แนะนำ กำกับดูแล รับผิดชอบให้พนักงานในสถานประกอบการได้รับความปลอดภัยในการทำงาน สำรวจ ตรวจสอบ ประเมินความเสี่ยงที่อาจทำให้เกิดอันตรายจากการใช้เครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องมือตลอดจนสภาพแวดล้อมในการทำงาน รวมถึงเสนอให้มีการป้องกัน หรือแก้ไขปรับปรุงสภาพแวดล้อมในสถานประกอบการให้ได้มาตรฐานตามที่กฎหมายความปลอดภัยกำหนด
19 พ.ค. 65 1,567 ครั้ง ก.แรงงาน–สสส. ประชุมเดินหน้าขับเคลื่อน “Happy Workplace” ปั้น กลุ่ม จป. เป็นผู้นำความปลอดภัย-ลดอุบัติเหตุ-ลดโรคในสถานประกอบการ ควบคู่พัฒนาชุดความรู้ การจัดการความเสี่ยงแบบองค์รวม-การสร้างเสริมสุขภาพ 10 Packages มุ่งขยายผลองค์กรสุขภาวะ จาก 200 แห่ง เป็น 600 แห่งทั่วประเทศ ภายในปี 65
26 ส.ค. 64 2,232 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะ โรงงานที่พบพนักงานติดเชื้อโควิด-19 มากกว่าร้อยละ 10 ของผู้ปฏิบัติงานทั้งหมด ไม่ควรปิดบัง ให้แจ้งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ภายใน 3 ชั่วโมง พร้อมใช้มาตรการหลักที่ 4 โดยจัดการแบบ Bubble and Seal เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
19 ก.ค. 64 5,805 ครั้ง จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) ช่วงเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2564 ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 12 พบผู้ติดเชื้อเป็นกลุ่มก้อนในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นสถานที่ที่มี การรวมตัวกันของพนักงานเป็นจำนวนมากเพื่อผลิตสินค้า
07 ก.ค. 64 4,747 ครั้ง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เตือนประชาชนระมัดระวังอันตรายจากสารเคมีที่ทำให้เกิดควันพิษ หากสูดดมเข้าไป อาจเกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุทางเดินหายใจได้ โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยงหากได้รับควันพิษเข้าสู่ร่างกาย อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพมากกว่าปกติ พร้อมแนะวิธีปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อสัมผัสหรือสูดดมควันพิษเข้าไป และขอให้ประชาชนติดตามข้อมูลข่าวสารจากหน่วยงานราชการอย่างใกล้ชิด
05 ก.ค. 64 2,892 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ห่วงประชาชนที่อยู่บริเวณจุดไฟไหม้และโรงงานระเบิด แนะวิธีป้องกันตัวหลังสัมผัสกับสารเคมีรั่วไหล และวิธีปฐมพยาบาลเบื้องต้น หวั่นกระทบต่อสุขภาพ
01 มิ.ย. 64 1,879 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ห่วงประชาชนบางกลุ่มไม่กล้ากินเนื้อไก่ช่วงนี้ หวั่นเกิดการปนเปื้อนจากโรงงานแปรรูปเนื้อไก่ในจังหวัดสระบุรี แนะเพิ่มความมั่นใจก่อนกินต้องปรุงสุกทุกครั้ง พร้อมย้ำล้างมือให้สะอาดทั้งก่อนและหลังปรุงอาหาร
24 พ.ค. 64 2,346 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะโรงงานผลิตน้ำแข็งคุมเข้มความสะอาดปลอดภัยทุกกระบวนการผลิต ลดปนเปื้อนเชื้อโรค พร้อมต้องมีการคัดกรองคนงานก่อนทำงานทุกวัน เพื่อประเมินความเสี่ยงโรคโควิด-19
23 มี.ค. 64 1,923 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ย้ำสถานประกอบการก่อสร้าง แคมป์คนงาน คุมเข้มมาตรการป้องกันโควิด -19 ต้องสวมหน้ากากทุกคน พร้อมเผยอนามัยโพล คนสวมหน้ากากลดลง ชี้โควิดยังไม่หมด ยังคงต้องปฏิบัติตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขกันอย่างเคร่งครัด
01 ก.พ. 64 12,470 ครั้ง โรงงานเป็นอีกหนึ่งสถานประกอบการ ที่มีการรวมกลุ่มของพนักงานอยู่เป็นจำนวนมาก เพื่อป้องกันและสร้างความปลอดภัยให้ทุกคนในสถานการณ์ โควิด-19 นี้ ทางสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ หรือ สสส. ได้จัดทำสื่อความรู้แนะนำการปฏิบัติตนให้กับเพื่อนๆ ชาวโรงงงาน ซึ่งจัดทำถึง 5 ภาษา ทั้ง ภาษาไทย พม่า ลาว เขมร และอังกฤษ เพื่อสื่อสารและเข้าถึงเพื่อนๆ เราทุกคน หากโรงงานหรือหน่วยงานใดสนใจสามารถดาวน์โหลดโปสเตอร์ (ขนาด A3) ทั้ง 5 ภาษานี้ ได้ฟรี ตาม Link และภาพด้านล่างนี้
10 ก.ค. 62 5,605 ครั้ง ในกรณีที่ลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการทำงานจนสูญเสียอวัยวะ หรือทุพพลภาพ สามารถเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพได้ที่ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงาน 5 แห่ง ซึ่งกระจายอยู่ทุกภาคทั่วประเทศ