24 มี.ค. 57 7,849 ครั้ง รักษาสิวจ่ายยาแก้อักเสบ “อะม็อกซิซิลลิน” บ่อยๆ กินนานเกินกว่าสัปดาห์ เสี่ยงเชื้อดื้อยาได้ ผู้จัดการ กพย.ชี้อันตรายหากเจ็บป่วยจำเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะกลุ่มนี้ ต้องใช้ยาแรงขึ้น หากไม่มีก็ไม่มียารักษา ระบุระดับโลกเตรียมถกประชุม เม.ย.-พ.ค
20 มี.ค. 57 10,412 ครั้ง กรมอนามัย เตือนประชาชนบริโภคอาหารหน้าร้อน ควรดื่มน้ำสะอาด หรือ ต้มสุก เลี่ยงบริโภคอาหารหวาน เพราะทำให้กระหายน้ำ และอาหารหมักดอง เพราะอาจเกิดโรคอุจจาระร่วง หรืออาหารเป็นพิษด้วย
18 มี.ค. 57 9,487 ครั้ง เตือนบุคลากรด้านรังสีแพทย์ในไทย รับรังสีในปริมาณสูงเสี่ยงเป็นมะเร็งและโรคต้อกระจก
12 มี.ค. 57 21,859 ครั้ง เตือนผู้ที่ชอบกิน"ไข่แมงดา" อย่าชะล่าใจ เห็นชัดกระดองแมงดาจานกินได้ แต่อาจเป็นไข่แมงดาถ้วย แนะสังเกตอาการหากเกิดอาการลิ้นชา แขนขาชา ใน 15-30 นาที ชัดเจนได้รับพิษแน่ รีบบอกคนใกล้ชิดพาไปพบแพทย์ ระบุส่วนใหญ่ที่ตายเพราะอ่อนแรงหายใจไม่ออก และมาพบแพทย์ช้า ชี้เมาท์ทูเมาท์ช่วยปฐมพยาบาลได้
10 มี.ค. 57 6,475 ครั้ง อย.เร่งตรวจสอบสารฟอร์มาลินในอาหาร เฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง หากฝ่าฝืนทั้งจำ และปรับทันที
07 มี.ค. 57 4,350 ครั้ง สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล เผยว่า เพศหญิงมีความรู้เรื่องพิษภัยจากการสูบบุหรี่สูงกว่าเพศชาย และสัดส่วนของเพศหญิงที่สูบบุหรี่ต่ำกว่าเพศชายถึง 10 เท่า
06 มี.ค. 57 11,875 ครั้ง แพทย์เตือนพวกเทคโนโลยีซินโดรม ชอบเล่นสมาร์ตโฟน แท็บเล็ต ทั้งเฟซบุ๊ค ไลน์ และปิดไฟดูทีวี ทำให้ดวงตาเครียด ล้า ความดันลูกตาสูง เสี่ยงโรคต้อหิน ซึ่งเป็นโดยไม่รู้ตัว รักษาไม่ทันตาบอด
27 ก.พ. 57 6,625 ครั้ง สาธารณสุขจังหวัดเลย เผยข้อมูลของกลุ่มพัฒนาระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาโรคติดต่อพบว่า ตั้งแต่กลางเดือน ก.พ. - พ.ค.นี้ เป็นช่วงฤดูร้อน มักเกิดโรคติดต่อจากอาหารและน้ำได้ง่าย
12 ก.พ. 57 4,816 ครั้ง ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นห่วงวัยรุ่นไทยส่งภาพหวิวผ่านแอพพลิเคชั่น LINE เสี่ยงกระตุ้นอยากรู้อยากลอง เรื่องเพศสัมพันธ์ และเป็นอันตรายหากไม่ได้รับการปรึกษาแนะนำอย่างเหมาะสม
06 ก.พ. 57 11,550 ครั้ง สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เตือนผู้ใช้สมุนไพร ‘ปอปิด’ ไม่สามารถทดแทนยารักษาโรคเบาหวานได้ ไม่ควรกินติดต่อเกิน 7 วัน
05 ก.พ. 57 6,714 ครั้ง อย.เผย พบผู้ป่วยใช้ยาสมุนไพรหยอดตา ถึงขั้นตาบอด ผลจากการเพาะเชื้อยาหยอดตา และตาผู้ป่วยพบเชื้อก่อโรค ซูโดโมแนส ออรูจิโนซา และเมื่อตรวจสอบยาหยอดตาดังกล่าวยังไม่ได้ขึ้นทะเบียนตำรับยา ไม่ทราบชื่อสารสำคัญ ซึ่งนับว่าอันตรายอย่างยิ่งเตือนประชาชนระมัดระวัง ขอให้ซื้อยา ที่ขึ้นทะเบียนถูกต้องเพื่อความปลอดภัย