12 เม.ย. 66 19,046 ครั้ง กรมอนามัยจัดกิจกรรม "สงกรานต์วิถีใหม่ สืบสานประเพณีไทย ใส่ใจผู้สูงอายุ" โดยชมรมผู้สูงอายุกรมอนามัย ซึ่งมีนายปรากรม วุฒิพงศ์ เป็นประธานชมรมผู้สูงอายุกรมอนามัย เพื่อเป็นศูนย์กลางประสานงานระหว่างผู้สูงอายุในกรมอนามัย และชมรมผู้สูงอายุอื่นๆ ให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสพบปะสังสรรค์ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพร่วมกัน เป็นต้นแบบการเป็นผู้สูงอายุสุขภาพดี เพื่อสื่อสารสังคมให้เกิดการรับรู้ ตื่นตัว และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง
01 ก.ค. 65 2,611 ครั้ง เมื่อเข้าสู่ช่วงสูงอายุอวัยวะต่าง ๆ จะเริ่ม ถดถอย การมีโรคประจำตัวไม่ใช่เรื่องสนุก เพราะหมายถึง การทำกิจกรรมบางอย่างไม่ได้เหมือนเดิม ต้องรับประทานยา ตลอด แถมหากไม่มีลูกหลาน การไปหาหมอก็ไม่สนุกนัก การมีสุขภาพที่แข็งแรงจะทำาให้เราพึ่งพาตนเองได้ เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุแล้ว การดูแลตัวเองอย่าง สม่ำเสมอด้วยการออกกำาลังกายที่เหมาะสม เช่น การเดิน การจ็อกกิ้ง หรือ กีฬาที่ชอบ และทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
24 ธ.ค. 64 3,300 ครั้ง กรมการแพทย์ โดยสถาบันทันตกรรม เตือนผู้สูงอายุหรือผู้ที่ใส่ฟันปลอม หากพบฟันปลอมชำรุด ขยับ หลวมหรือหลุดง่าย ไม่ควรใส่หรือใช้งานต่อ ควรรีบไปพบทันตแพทย์เพื่อทำการแก้ไข อย่าปล่อยทิ้งไว้ อาจอันตรายถึงชีวิต หากฟันปลอมหลุดลงในคอหรือกลืนลงช่องท้อง
08 ธ.ค. 64 4,256 ครั้ง ความชราหรือการเจ็บป่วยไม่ใช่ข้อห้ามในการออกกำลังกาย อย่างไรก็ตาม หากผู้สูงอายุเป็นโรคที่มีภาวะแทรกซ้อนรุนแรง ควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญหรือแพทย์ เพื่อประเมินว่าการออกกำลังกายแบบไหนจึงจะดีและเหมาะสมที่สุด ส่วนผู้สูงอายุที่มีสุขภาพร่างกายแข็งเเรงตามวัย ก็มีสิ่งที่ควรพึงระวังเช่นกัน
30 ก.ย. 64 4,907 ครั้ง โรคอัลไซเมอร์เป็นโรคที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุเป็นส่วนใหญ่ แต่ก็ใช่ว่าผู้สูงอายุทุกคนจะต้องเป็นโรคนี้ เราสามารถลดปัจจัยเสี่ยงเพื่อป้องกันการเป็นโรคอัลไซเมอร์ได้
30 ส.ค. 64 4,541 ครั้ง ผู้สูงวัยจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงสูงที่จะติดโควิด และถ้าติดแล้วจะมีความรุนแรง และมีโอกาสเสียชีวิตสูง แต่ผู้สูงวัยที่มีร่างกายแข็งแรง มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ เช่น กินอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ ออกกำลังกายเป็นประจำ จะมีภูมิคุ้มกันดีกว่า
22 มิ.ย. 64 1,819 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ห่วงเนอสซิ่งโฮมดูแลผู้สูงอายุ เนื่องจากส่วนใหญ่มีโรคประจำตัว หากพบมีผู้ติดเชื้อ ต้องแยกออกจากที่พักทันที เพราะหากอยู่รวมกันหวั่นเกิดเป็นคลัสเตอร์ใหม่ พร้อมย้ำผู้ดูแลต้องปฏิบัติตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด ลดความเสี่ยงต่อการติดและแพร่เชื้อโควิด-19
21 มิ.ย. 64 3,802 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะนำ 12 เทคนิคในการจัดอาหารถูกหลักโภชนาการเพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการกินอาหารที่เหมาะสมตามวัย สร้างสุขภาพดี
24 พ.ค. 64 1,724 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะ Care Manager Caregiver ผู้ทำหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและกลุ่มติดเตียงอย่างใกล้ชิด ปฏิบัติตามมาตรการ DMHTTA อย่างเคร่งครัด เพื่อป้องกันการแพร่กระจายโรคโควิด-19 พร้อมเผยมีผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองแล้ว 3,400,349 คน
30 เม.ย. 64 2,765 ครั้ง 38 ปี ที่สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียนมหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการก่อตั้งเพื่อส่งเสริมและพัฒนางานสาธารณสุขมูลฐานของประเทศไทย และภูมิภาคอาเซียน โดยได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลไทย และองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น (JICA) ซึ่งญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ครองแชมป์คนที่มีอายุยืนมากที่สุดในโลกนั้น ได้มีการศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถึงปัจจัยสู่การมีชีวิตที่ยืนยาวและยั่งยืน เพื่อนำมาปรับใช้กับสังคมไทยตลอดเวลาที่ผ่านมา
12 เม.ย. 64 2,960 ครั้ง สำรวจพบ ผู้สูงอายุ ช่วงอายุ 60-69 ปี ร้อยละ 96.9 ดูแลตัวเองได้ ไม่เป็นภาระลูกหลาน ต้อนรับวันผู้สูงอายุแห่งชาติ สสส. – สมาคมสภาผู้สูงอายุฯ ชวน คนรุ่นใหม่ สานสัมพันธ์ ลดปัญหาครอบครัว แนะ ตรวจสุขภาพทุกปี ลดเสี่ยงโรคเรื้อรัง ซึมเศร้า สร้างสังคมสูงวัยสุขภาวะดี
12 เม.ย. 64 7,636 ครั้ง คนวัยหนุ่มสาว เคยลองนั่งนึกเล่นๆ บ้างไหมว่า เวลานี้ ที่เรามาทำงาน คุณพ่อ คุณแม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ที่บ้าน เขาทำอะไรกันอยู่ คำตอบที่ได้ คงจะเป็น ทำงานบ้าน นอนพักผ่อน ดูทีวี ฟังวิทยุ และอีกหนึ่งคำตอบที่คิดว่าทุกบ้านเป็นเหมือนกัน นั่นคือ เล่นโทรศัพท์มือถือ
17 เม.ย. 63 2,581 ครั้ง สสส.-สมาคมโรคเบาหวาน-เครือข่ายคนไทยไร้พุง ชวนคนไทยเพิ่มภูมิคุ้มกันสู้โควิด-19 ส่ง "แพทย์-ผู้เชี่ยวชาญ" สื่อสารใกล้ชิด ผ่าน ไลน์@raipoong ถาม-ตอบ สุขภาพผู้สูงอายุ พร้อมชาเล้นจ์ #ไทยฟิตติดบ้าน ต้านโควิด แนะวิธี กินดี-มีกิจกรรมทางกาย-คลายเครียด-นอนเพียงพอ ผ่านคลิปบนเฟซบุ๊ก
05 ก.พ. 63 4,990 ครั้ง อีก 5 ปี คาดการณ์กันว่า สังคมไทยจะมีผู้สูงอายุมากถึงร้อยละ 25 ของประเทศทั้งหมด ซึ่งประเทศที่พัฒนาแล้วหลายแห่งจะมีสวัสดิการสำหรับคนในแต่ละช่วงอายุแตกต่างกัน ยิ่งสูงอายุมากเท่าไหร่ก็จะได้รับครอบคลุมมากยิ่งขึ้น
14 ม.ค. 63 1,912 ครั้ง ผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการหกล้มได้ง่ายเนื่องจากความเสื่อมของร่างกาย การหกล้มเกิดจากการสูญเสียการทรงตัว
29 พ.ค. 62 2,036 ครั้ง โครงสร้างประชากรไทยกำลังจะเปลี่ยนโฉมในระดับที่ประวัติศาสตร์ต้องจารึก เพราะ ในปี 2564 ประเทศไทยจะเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์” นั่นหมายความว่า คนสูงวัยจะครองสัดส่วนเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ขณะที่กลุ่มเจนวายเป็นต้นไป เรื่อยมาถึงเจนแซด และเจนอัลฟ่าจะต้องกลายเป็นพลเมืองกลุ่มน้อยในสังคมไทย