26 ก.ย. 67 367 ครั้ง เทศกาลกินเจกำลังจะเริ่มขึ้นแล้วในวันที่ 3-11 ตุลาคมนี้ ใครเป็นมือใหม่ ต้องรู้! ล้างท้องก่อนกินเจ ต้องทำอย่างไร
28 ก.ย. 65 1,885 ครั้ง การติดรสหวานมาก ๆ ไม่ใช่เรื่องดี เพราะความหวานเป็นบ่อเกิดหนึ่งของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอย่าง “โรคเบาหวาน” แม้เราจะรู้เรื่องนี้กันดี แต่การเลิกติดรสหวานก็เป็นสิ่งที่ทำได้ยากสำหรับใครหลายคน มาลองเช็กตัวเองผ่าน 3 คำถามนี้ เพื่อสร้างแรงจูงใจให้หันมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินได้สำเร็จ หากเมื่อใดที่คิดจะล้มเลิกก็ขอให้ย้อนนึกถึงความมีเหตุมีผลเหล่านี้ เพื่อสุขภาพที่ดี
26 ก.ย. 65 1,301 ครั้ง ปัจจุบันคนไทยกินเค็มเกินเกณฑ์ถึง 2 เท่า ยิ่งช่วงเทศกาลกินเจ เค็ม มัน โซเดียมเต็มไปหมด เสี่ยง NCDs อาจถึงขั้นตายก่อนวัยอันควร
23 ก.ย. 65 3,512 ครั้ง อาหารเจมักมีรสเค็ม หรือปริมาณโซเดียมสูง หากร่างกายได้รับมากเกินไป เสี่ยงภาวะความดันโลหิตสูง โรคไต และอื่น ๆ
31 ส.ค. 65 2,378 ครั้ง สสส.-เครือข่ายลดบริโภคเค็ม-WHO หนุน 4 มาตรการ “ลดการบริโภคเกลือโซเดียม” ดึง ผู้ประกอบการปรับสูตรอาหาร-กำหนดนโยบายจัดซื้ออาหารอ่อนเค็มในองค์กร-ติดฉลากคำเตือน/สัญลักษณ์สี- สื่อสารสร้างความตระหนักรู้ ช่วยคนไทยปรับพฤติกรรมการกิน มุ่งเป้าลดกินเค็มลง 30% ลดเสี่ยงป่วย-ตายจากโรค NCDs ภายในปี 2568
01 ธ.ค. 64 3,661 ครั้ง การกินเค็มที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ทำให้เกิดแนวคิดใช้มาตรการภาษีโซเดียม เพื่อให้ภาคอุตสาหกรรมปรับสูตรลดปริมาณโซเดียมในอาหาร เพื่อช่วยให้ประชาชนลดปริมาณบริโภคเกลือ
11 มิ.ย. 64 5,522 ครั้ง โรคไต เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติที่บริเวณไตที่พบมาก คือ โรคไตวายเฉียบพลัน ไตวายเรื้อรังจากโรคเบาหวาน หรือโรคความดันโลหิตสูง โรคไตอักเสบจากโรคเเอลเอสอี โรคถุงน้ำดีที่ไต เเละโรคนิ่ว
21 เม.ย. 64 1,943 ครั้ง ประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโควิด-19 และอยู่ในระยะเฝ้าระวัง 14 วัน ควรหากิจกรรมที่ส่งเสริมต่อการสร้างสุขภาพที่ดีด้วยการออกกำลังกายอยู่กับบ้าน และควรทำความสะอาดอุปกรณ์ทั้งก่อนและหลังใช้ออกกำลังกายทุกครั้งด้วยน้ำสบู่หรือแอลกอฮอล์ 70 เปอร์เซ็นต์ โดยออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วัน วันละ 30 นาที หรือสมัครเข้าร่วมโครงการก้าวท้าใจ Season 3 โดยลงทะเบียนผ่าน Line @Thnvr
31 มี.ค. 64 1,800 ครั้ง ตามที่มีข่าวการท้าทายกินเกลือของคนต่างชาติผ่านสื่อสังคมออนไลน์ชื่อดังนั้น ขอเตือนว่าไม่ควรเลียนแบบพฤติกรรมดังกล่าว เนื่องจากการบริโภคเกลือหรืออาหารที่มีรสเค็มมากเกินไปส่งผลให้ร่างกายได้รับโซเดียมในปริมาณสูงเกินความต้องการ โดยปริมาณที่แนะนำไม่เกิน 1 ช้อนชา หรือน้ำปลาไม่เกิน 4 ช้อนชาต่อวัน โดยจากผลสำรวจปี 2563 พบว่าคนไทยบริโภคโซเดียมสูงถึง 4,351.7 มิลลิกรัมต่อวัน สูงกว่าค่าที่องค์การอนามัยโลกแนะนำถึง 2 เท่า ส่งผลทำให้คนไทยเป็นโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทั้งการบริโภคโซเดียมเกินกว่าความต้องการในแต่ละวันทำให้ไตต้องทำงานหนักขึ้นและเสื่อมเร็วขึ้น การรับโซเดียมในปริมาณสูงอย่างต่อเนื่องในระยะยาวส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของระดับความดันโลหิต เป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด ไต เบาหวาน และอัมพฤกษ์ อัมพาตได้
29 มี.ค. 64 2,750 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะประชาชนคนไทย ลดกินเค็ม กินเกลือไม่เกิน 1 ช้อนชาต่อวัน เพื่อลดเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด พร้อมเตือนไม่ควรเลียนแบบพฤติกรรมการกินเกลือปริมาณมาก แบบในคลิปออนไลน์ เสี่ยงโรคไต หรืออาจอันตรายถึงชีวิตได้
10 มี.ค. 64 10,187 ครั้ง ปัจจุบันทั้งองค์กรรัฐ หน่วยงานด้านการแพทย์ และภาคีเครือข่าย พยายามรณรงค์เรื่องการปรับพฤติกรรมลดการกินเค็ม ซึ่งนำไปสู่การเกิด โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตวายเรื้อรัง หรือแม้กระทั่งโรคอ้วน แต่หลายคนก็ยังไม่ปรับพฤติกรรมการกินเค็ม เพราะยึดติดในรสชาติอาหารที่คุ้นลิ้น วันนี้ เราขอเสนอแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินด้วยวิธีง่ายๆ ให้ลองปฏิบัติกันในชีวิตประจำวัน
08 มี.ค. 64 4,537 ครั้ง กลุ่มโรคไม่ติดต่อ (Non-communicable diseases : NCDs) ที่ประกอบด้วย โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และโรคปอดเรื้อรัง เป็นภัยร้ายที่คุกคามชีวิตคนทั่วโลก องค์การสหประชาชาติเคยประกาศในที่ประชุมสมัชชาใหญ่เมื่อ 19 ก.ย. 54 ให้ประเทศสมาชิกร่วมกันดำเนินการป้องกันและควบคุม เพราะกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ไม่เพียงทำให้ประชาชนสุขภาพไม่ดีเท่านั้น แต่ยังทำให้การทำงานด้อยประสิทธิภาพ อาจทุพพลภาพหรือเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย่างรุนแรง
01 มี.ค. 64 11,395 ครั้ง “พี่คะขอรสชาติจัดจ้าน แซ่บ ๆ เลยนะคะ” “พี่ครับขอเพิ่มหวานอีกนิดนะครับ” “ของทอดนี่มันอร่อยจริงๆ นะ กร๊อบ กรอบ ยิ่งถ้าได้น้ำจิ้มแซ่บ ๆ นะ คือ ดีมากกก” พฤติกรรมการนิยมบริโภคอาหารรสชาติจัดจ้าน ถึงใจ แต่มากไปด้วยปริมาณของโซเดียม ขณะที่การทานอาหารที่มีรสชาติเข้มข้นเกินไป แต่เมื่อบริโภคเกินที่ร่างกายต้องการ ย่อมส่งผลเสียตามมา ดังประโยคที่ว่า “อร่อยปาก ลำบากร่างกาย Covid-19 ที่ว่าร้าย ยังต้องพ่ายให้กับโรค NCDs” รู้หรือไม่คนไทยเสียชีวิตด้วยโรค NCDs เฉลี่ยวันละไม่ต่ำกว่า 1,000 คน ไม่เพียงเท่านั้นในแต่ละปีรัฐต้องสูญเสียงบประมาณค่ารักษาพยาบาลปีละกว่าหลายล้านบาท
16 ก.พ. 64 4,079 ครั้ง จากผลงานวิจัยล่าสุดในปี 2564 ซึ่ง ได้รับการพิมพ์ในวารสาร Journal of Clinical Hyper tension โดยความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ตีแผ่พฤติกรรมคนไทยบริโภคโซเดียม (เกลือ) เฉลี่ยสูงที่สุดในภาคใต้, ภาคกลาง, ภาคเหนือ, กรุงเทพฯ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยค่าปริมาณการบริโภคโซเดียมเฉลี่ยประชาชนไทยเท่ากับ 3,636 มิลลิกรัมต่อวันหรือเท่ากับเกลือถึง 1.8 ช้อนชา ขณะที่องค์การอนามัยโลกแนะนำให้บริโภคโซเดียมไม่เกินวันละ 2,000 มิลลิกรัม
10 ก.พ. 64 4,844 ครั้ง ในขณะที่คนทั้งโลกโฟกัสกับโรคระบาดแห่งศตวรรษอย่าง "โควิด-19" ที่ต้องแก้ไขวิกฤตอย่างเร่งด่วน ทว่า ยังมีโรคภัยอีกมากมายที่บ่อนทำลายคุณภาพชีวิต สร้างความทุกข์ทรมานทั้งกายใจ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และคงเป็นเช่นนี้ต่อไปในอนาคตหากไม่ปรับเปลี่ยนซึ่งพฤติกรรมบางประการ หนึ่งในนั้นคือ "โรคไต"อย่างที่ทราบกันดีว่า รสเค็ม รวมถึง "รสจัด" อื่นๆ ทั้งเปรี้ยว หวาน มัน คือศัตรูตัวฉกาจ นำมาซึ่งโรคดังกล่าว