20 ก.ค. 61 1,527 ครั้ง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับกรมประชาสัมพันธ์ พัฒนาเครือข่ายประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านสุขภาพ โรคพิษสุนัขบ้า โรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี สู่ประชาชน
17 ก.ค. 61 116,632 ครั้ง โรคตับแข็งเป็นโรคเรื้อรังที่ทำให้เกิดการสูญเสียโครงสร้างของตับ โดยปกติเนื้อตับจะนุ่ม แต่ถ้ามีอาการ อักเสบหรืออันตรายต่อตับ เนื้อตับจะถูกทำลายกลายเป็นพังผืดลักษณะคล้ายแผล ซึ่งจะทำให้ไปเบียดเนื้อ ตับที่ดี และทำให้เลือดไปเลี้ยงตับน้อยลง ถ้ามีการทำลาย เซลล์ตับอย่างเรื้อรังจนมีพังผืดเกิดขึ้นมาก เนื้อตับที่เคยนุ่มจะค่อยๆ แข็งขึ้น จนกลายเป็น ตับแข็ง ในที่สุด ส่งผลให้สมรรถภาพการทำงานของตับลดลง ซึ่งนำมาสู่สุขภาพร่างกายแย่ลงด้วย
12 ก.ค. 61 2,324 ครั้ง กรุงเทพมหานคร รณรงค์ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันโรคตับอักเสบ ป้องกันการเกิดโรค ลดอัตราการป่วยและตายด้วยโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและซี
17 ต.ค. 60 4,075 ครั้ง เชื่อหรือไม่ว่า ในบรรดาอวัยวะทั้งหมดที่อยู่ในร่างกาย “ตับ” เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ต่างๆมากมาย จนเกือบจะเรียกได้ว่ามากที่สุดเลยก็ว่าได้
09 ต.ค. 60 3,572 ครั้ง สสส. สคล. หนุนชุมชนคนสู้เหล้าทั่วประเทศตั้งเป้า 89 หมู่บ้าน แห่เข้าร่วมเกินคาด 199 หมู่บ้าน ร่วมใจปฏิญาณตนพักตับพักต่อ
27 ก.ย. 60 9,661 ครั้ง กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ 5 หน่วยงาน ร่วมกันพัฒนา Application "RDU รู้เรื่องยา"
30 ส.ค. 60 5,750 ครั้ง เมื่อดื่มเหล้าเซลล์ตับกำจัดสารพิษจากแอลกอฮอล์ทำให้ตับสูญเสีย การทำงานเกิดไขมันสะสมในตับ
18 ก.ค. 60 5,238 ครั้ง STOP DRINK '๙ งดเหล้า สืบสานพระราชปณิธาน' เข้าพรรษานี้พักตับพักยกพักดื่ม=พักตับ=ตับดีขึ้น
13 มี.ค. 60 5,509 ครั้ง คนไทยป่วยเป็นโรคไตสูงถึงอันดับ 3 ในอาเซียน เปิดกลุ่มยาเอ็นเสด ในยาแก้ประจำเดือน ยาแก้ปวด แพทย์เตือนคนไทยกินยาแบบผิดๆ ทำไตพัง พบยาชุด สมุนไพรเถื่อน-ยาจีนเกลื่อนท้องตลาด หลงเชื่อกินไตวายถึงตาย จี้ อย.เร่งจัดการด่วน
03 ต.ค. 59 4,670 ครั้ง สบส. เผย ผู้ป่วย “เบาหวาน - ความดัน” ไม่กินยาตามแพทย์สั่ง เหตุเชื่อกินทุกวันทำไตวายเร็ว ตับแข็ง ยันไม่กินต่อเนื่องยิ่งเกิดโรคไตและหัวใจเร็วขึ้น
25 ส.ค. 59 10,713 ครั้ง สธ.เร่งรัดโครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
30 ธ.ค. 58 10,940 ครั้ง อธิบดีกรมการแพทย์ เผย ไขมันพอกตับปัญหาสุขภาพใกล้ตัวที่ทุกคนสามารถเป็นได้ หากปล่อยไว้อาจลุกลามจนทำให้เกิดโรคมะเร็งตับและรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ได้ แนะเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ หลีกเลี่ยงการรับประทานยาที่ไม่จำเป็นและเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมแอลกอฮอล์ ควรออกกำลังกายสม่ำเสมอ ป้องกันควบคุมรักษาโรคที่เป็นปัจจัยเสี่ยง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคไขมันในเลือดสูงให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ช่วยลดความเสี่ยงการเกิดโรคได้
26 พ.ย. 58 5,089 ครั้ง เพศชายเสี่ยงเป็นโรคมะเร็งตับมากกว่าเพศหญิง ชี้อาการเริ่มต้น เบื่ออาหารไม่มีสาเหตุ ท้องผูก ไข้ต่ำ ปวดเสียดชายโครงขวา