30 มิ.ย. 63 2,810 ครั้ง สสส.ร่วมกับคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ผลิตสื่อสำหรับกลุ่มชาติพันธุ์ ภายใต้โครงการพัฒนากลไกการเข้าถึงบริการสุขภาพและเสริมสร้างสุขภาวะผู้หญิงชาติพันธุ์ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจของกลุ่มชาติพันธุ์ในสถานการณ์โควิด-19 โดยออกแบบเครื่องมือสื่อสารภาษาชาติพันธุ์กว่า 10 ภาษา เช่น ภาษา ไทใหญ่ ลาหู่ อาข่า ม้ง โดยส่งเสริมแกนนำผู้หญิงชาติพันธุ์ ล่ามชุมชน ให้เป็นนักสื่อสารสุขภาพชุมชน นอกจากนี้ ยังร่วมกับคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มม.ผลิตสื่อสร้างความเข้าใจเรื่อง โควิด-19 กับกลุ่มประชากรข้ามชาติ 3 ภาษา ได้แก่ เมียนมา ลาว และกัมพูชา ที่อาศัยอยู่ในไทย
08 เม.ย. 63 5,804 ครั้ง สสส.ผนึก “ธรรมศาสตร์-มหิดล” จัดทำสื่อทุกรูปแบบ 10 ภาษาชาติพันธุ์ ป้องกันโควิด-19 เน้นทำความเข้าใจเพื่อนบ้าน “เมียนมาร์-ลาว-กัมพูชา” ที่ตกค้างในไทยมุ่งหวังลดตื่นตระหนก เข้าใจ ป้องกัน ดูแลตนเองได้
26 ก.ค. 62 7,882 ครั้ง ประชากรกลุ่มเฉพาะคือกลุ่มคนที่ไร้ตัวตนในสังคม ถูกมองข้าม ละเลย เข้าไม่ถึงทรัพยากร ถูกผลักภาระให้รับผิดชอบชีวิตและชะตากรรมด้วยตนเอง จึงมีความเสี่ยงสูงโดยเฉพาะความเสี่ยงด้านสุขภาพ ขาดอำนาจในการต่อรองทำให้ต้องยอมจำนนให้กับความไม่เที่ยงธรรม
10 ก.ค. 62 5,451 ครั้ง ก้าวที่กล้า สำนัก 9 สสส. ลดเหลื่อมล้ำสังคมกลุ่มถูกละเลยหลงลืม 92.4 ล้านคนในสังคม
10 ม.ค. 62 5,807 ครั้ง ภูมิปัญญาก้นครัว ปกาเกอะญอที่เชื่อมความสัมพันธ์ของคน ในชุมชนชาติพันธุ์ และยังช่วยดูแลสุขภาพท่ามกลางสังคมสมัยใหม่
11 ธ.ค. 61 5,849 ครั้ง ชนเผ่าคะฉิ่นในบ้านใหม่สามัคคี ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำไร่ ทำสวน ปลูกข้าวโพด ข้าว มะม่วง ถั่วลิสง อะโวคาโด ซึ่งแต่เดิมเป็นผู้อพยพหนีภัยจากการสู้รบในเขตพม่าเข้ามาในเขตไทยเมื่อประมาณ 40 ปีก่อน หากอยู่กันแบบกระจัดกระจาย ไม่แสดงตัวว่าเป็นคะฉิ่น เพราะกลัวถูกจับในความผิดฐานลักลอบเข้าเมืองโดยไม่ถูกกฎหมาย จนภายหลังพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เสด็จฯมาที่ ต.เมืองนะ และมีการพัฒนาในพื้นที่ คะฉิ่นอพยพจึงได้รวมตัวกันมาตั้งถิ่นฐานที่บ้านใหม่สามัคคี ตั้งแต่ปี 2522 เป็นต้นมา
24 ก.ค. 61 4,222 ครั้ง แนวทางแก้ปัญหาว่า กลุ่มผู้เฒ่าผู้แก่ได้หารือกัน และเห็นพ้องว่าต้องฟื้นฟูภูมิปัญญาดั้งเดิมให้กลับมา จึงได้ทำโครงการพัฒนาความมั่นคงทางอาหารเพื่อส่งเสริมสุขภาวะชุมชนชาติพันธุ์
27 ก.พ. 61 3,469 ครั้ง "ท่าผาปุ้ม" เป็นชื่อตำบลเล็กๆ ใน อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองกว่า 139 กิโลเมตร ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่สูง มีหมู่บ้านเล็กๆ ในหุบเขา 8 แห่ง ซึ่งตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติเขตป่าอนุรักษ์แม่ยวมฝั่งขวา มีพื้นที่ราบสำหรับการเพาะปลูกเพียง 1 ใน 4 ของพื้นที่ทั้งหมด
27 ก.พ. 61 2,789 ครั้ง ความต่างคือสมาชิกโครงการบ้านเดี่ยวเอื้ออาทรเชียงราย แม่สาย 1-2 ของการเคหะแห่งชาติ จำนวน 1,143 หน่วย ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ เช่น ไทใหญ่ ไทลื้อ ไทเขิน จีน รวมแล้วมากกว่าครึ่งของโครงการ
19 ก.พ. 61 9,452 ครั้ง งาน "มหกรรมอาหารชาติพันธุ์-อาหารฮาลาล" จัดที่สวนสาธารณะกลางเมือง (สวนตุง-โคมเฉลิมพระเกียรติ) อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 18-21 มกราคม 2561
31 ม.ค. 61 4,347 ครั้ง ความเป็นชุมชนชนบทแต่ละพื้นที่นั้นมีความเหมือนในความแตกต่างกัน ตามแต่บริบทและ องค์ประกอบของแต่ละพื้นที่นั้นๆ มีวิถีวัฒนธรรม มีภาษา มีขนบธรรมเนียม มีพิธีกรรม นั่นคงเป็นมนต์เสน่ห์ของความเป็นอีสานบ้านเรา
25 ก.ย. 60 6,486 ครั้ง โครงการ "ส่งเสริมความมั่นคงทางอาหารในการสร้างเสริมสุขภาวะเครือข่ายชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมือง" หมู่บ้านปางสา ตำบลป่าตึง อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย
04 ส.ค. 60 4,936 ครั้ง สำหรับคนในเมืองอย่างเราๆ หากคิดจะตัดแว่นตาสักอัน คงไม่ใช่เรื่องยากเกินเอื้อม เพราะจะเห็นว่ามีร้านแว่นตาตั้งอยู่ทั่วไป แต่นั่นคงไม่ใช่กับเด็กๆ ที่ โรงเรียนชุมชนบ้านพบพระ อำเภอพบพระ จังหวัดตากเพราะในพื้นที่ชายขอบเล็กๆ นี้ ห่างไกลจาก "ร้านแว่นตา" ไปหลายสิบกิโลเลยทีเดียว ทุกครั้งที่พวกเขาอยากตัดแว่นเพียงหนึ่งอัน ตัวเลือกที่ใกล้ที่สุดคือ ร้านแว่นตาในอำเภอแม่สอดที่ห่างราวๆ 50 กิโลเมตร!
13 มี.ค. 60 3,340 ครั้ง เปิดลานกิจกรรมเล่าเรื่องริมแม่น้ำสะแกกรัง วิถีชาติพันธุ์อุทัยธานี พร้อมซุ้มอาหารพื้นบ้านและขนมท้องถิ่น
21 พ.ค. 58 7,515 ครั้ง นักศึกษาเครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคม เปิดพื้นที่เรียนรู้แสดงนิทรรศการสื่อสะท้อน 6 โจทย์สังคม ชูต้นแบบ “นวัตกรรมการปรับการเรียนการสอนจากโจทย์จริง” สร้าง “พลเมืองตื่นรู้” รับใช้สังคม
18 พ.ย. 57 5,433 ครั้ง อ่านยกกำลังสุข สร้างเสริมการอ่านในกลุ่มชาติพันธุ์ นำนิทาชนเผ่าผลิตเป็นหนังสือทำมือ เพื่อเชื่อมหัวใจคนเชียงดาว