Page 6 - วารสารเสียงชนเผ่า ประจำเดือนกรกฎาคม 2560
P. 6




ประเทศไทยลงนามให้สัตยาบันอนุสัญญาฯ เมื่อวันที่ 13
และ 2557 สาเหตุไม่ได้บ่งชี้ว่ามีคนเสพมากขึ้น แต่เพราะยาบ้า กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 อนุสัญญาฉบับนี้มีหลักการส�าคัญ คือ การ
มีราคาแพงขึ้นจากความยากล�าบากในการซื้อหา เพราะโทษแรง ไม่เลือกปฏิบัติ และเพื่อประโยชน์สูงสุดของเด็ก โดยมีเนื้อหา 4 ด้าน
และ เจ้าหน้าที่จับกุมอย่างเข้มงวด ท�าให้สินค้าราคาแพง ขณะ ได้แก่
ที่สถิติผู้ต้องขังคดียาเสพติดในเรือนจ�าทั่วประเทศพุ่งขึ้นจาก (1) สิทธิในการอยู่รอด – ได้รับการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐาน มี

106,966 คนในปี 2543 เป็น 217,408 คนในปี 2557 เรียกว่า สันติภาพ และความปลอดภัย
(2) สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง - ให้รอดพ้นจากการ
เพิ่มขึ้นกว่าเท่าตัว ท�าให้เกิดปัญหานักโทษล้นคุก ผู้ต้องขังล้น ท�าร้าย การถูกล่วงละเมิด การถูกทอดทิ้ง และการแสวงประโยชน์ในทุก
เรือนจ�า งบประมาณที่ใช้ในการดูแลผู้ต้องขังพุ่งสูงถึง 12,372.9 รูปแบบ
ล้านบาท ในปีนี้คิดเป็น 52 % ของงบกระทรวงยุติธรรม ขณะที่ (3) สิทธิที่จะได้รับการพัฒนา – มีครอบครัวที่อบอุ่น ได้รับ
หน่วยงานของยูเอ็นก็รายงานผลการศึกษาจากทั่วโลกที่ชี้ชัดว่า การศึกษาที่มีคุณภาพ และมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม และ
(4) สิทธิในการมีส่วนร่วม – ในการแสดงความคิดเห็น
การใช้มาตรการปราบปรามด้วยโทษทางอาญาเพียงอย่างเดียว แสดงออก การมีผู้รับฟัง และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องที่มีผล
ไม่สามารถแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดได้จริง กระทบกับตนเอง
(อ้างถึง ถอด 'ยาบ้า' จากยาเสพติด ระวังเถียงกันคนละเรื่อง,
ปกรณ์ พึ่งเนตร, หน้าแรก/คอลัมนิสต์, กรุงเทพธุรกิจ) ในทุกๆ 5 ปี แต่ละประเทศจะต้องจัดท�ารายงานความ
ก้าวหน้าเสนอต่อคณะกรรมการสิทธิเด็กแห่งสหประชาชาติที่มี
หน้าที่ก�ากับดูแลและตรวจสอบการด�าเนินงานของแต่ละประเทศใน
การรับประกันสิทธิต่างๆ ของเด็กที่ระบุไว้ในอนุสัญญา ประเทศไทย
เคยส่งรายงานให้คณะกรรมการฯมาแล้ว 4 ครั้ง รายงานฉบับล่าสุด
(ฉบับที่ 3 และ 4) ประเทศไทยส่งให้คณะกรรมการสิทธิเด็ก เมื่อ
พ.ศ. 2555 คณะกรรมการได้ตั้งข้อสังเกตกับรัฐบาลไทยเอาไว้หลาย
ประเด็น โดยเฉพาะเรื่อง “การพัฒนากลไกคุ้มครองและช่วยเหลือ
เด็กที่ตกเป็นเหยื่อของการถูกท�าร้ายและถูกแสวงประโยชน์ทาง
เพศ ทั้งที่เกิดในครอบครัวและนอกครอบครัว” “การเข้าถึงบริการ

ขั้นพื้นฐานแก่เด็กที่ขาดโอกาสที่สุด ได้แก่ เด็กกลุ่มชาติพันธุ์ เด็กผู้
ลี้ภัย เด็กเร่ร่อน เด็กอพยพ เด็กยากจน เด็กที่กระท�าผิด และเด็ก
ที่ถูกค้ามนุษย์ เด็กพิการ เด็กที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงใน

จากปรากฏการณ์ที่กล่าวมานี้ ท�าให้ต้องกลับไปทบทวน จังหวัดชายแดนใต้” “อายุขั้นต�่าของเด็กที่ต้องรับโทษทางกฎหมาย
พันธะผูกพันของประเทศไทยตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ซึ่งปัจจุบันอยู่ที่ 10 ขวบในประเทศไทย ซึ่งเป็นอายุที่ต�่าเกินไป”
(Convention on the Rights of the Child (CRC)) ซึ่งเป็น และเรื่อง “ความเหลื่อมล�้าในสังคม”
สัญญาด้านสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศที่ได้รับการรับรองจาก ปีนี้ประเทศไทยครบวาระที่ต้องส่งรายงาน ฉบับที่ 5 ต่อ
ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ (United Nations General คณะกรรมการสิทธิเด็กแห่งสหประชาชาติอีกครั้ง ซึ่งจะต้องส่ง
Assembly) ในปี 2532 และเป็นอนุสัญญาฯที่ได้รับความเห็น ภายในเดือนตุลาคม 2560 นี้ แต่จากข่าวค�าแถลงของท่านเลขา
ชอบมากที่สุดในโลก โดยเกือบทุกประเทศ (196 ประเทศ) ใน ส�านักงานศาลยุติธรรมดูเหมือนจะสวนทางกับแนวคิดตามอนุสัญญา
โลกได้ให้สัตยาบัน ยกเว้นประเทศสหรัฐอเมริกาประเทศเดียว ว่าด้วยสิทธิเด็กที่ประเทศเป็นภาคีอยู่ไม่น้อย คงต้องติดตามกันต่อไป
ว่ารัฐบาลจะเขียนรายงานของประเทศไทยออกมาอย่างไร






6
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11