10 มิถุนายน 2568 3 ครั้ง รู้ทันก่อนไตพัง! "เบาหวาน" เหตุไตเสื่อมอันดับ 1 ของคนไทย คุมน้ำตาล-ลดเค็ม-เลิกบุหรี่ ป้องกันโรคไตเรื้อรัง กรมการแพทย์ โดย โรงพยาบาลราชวิถี เผย โรคไตเรื้อรังจากเบาหวาน เป็นหนึ่งในภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อย ในผู้ป่วยเบาหวาน และหากไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสม อาจนำไปสู่ภาวะไตวายเรื้อรังจนต้องฟอกไตหรือปลูกถ่ายไต ซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย อ่านต่อ
04 กรกฎาคม 2568 43 ครั้ง ชุมชนร่วมแก้ปัญหา ‘วิกฤตซ้อนวิกฤต’ สสส. สานพลังเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ บูรณาการการทำงานหนุนเสริมพลังสร้างการเรียนรู้-ส่วนร่วม-เปลี่ยนแปลง ชุมชนสามารถจัดการตนเองได้อย่างยั่งยืน ปลุกพลังชุมชน เป็นผู้ออกแบบอนาคต สู่การปฏิรูประบบสุขภาวะทั้งระบบ สร้างพลเมืองเป็นหัวใจของการขับเคลื่อน อ่านต่อ
29 ก.ย. 65 884 ครั้ง สสส. สนับสนุนโครงการพัฒนาเครือข่ายและหนุนเสริมศักยภาพครูและแกนนำนักศึกษาอาชีวศึกษา ป้องกันปัจจัยเสี่ยง (เหล้า บุหรี่) ในสถานศึกษา มาอย่างต่อเนื่อง เพื่อขยายแนวร่วมในการทำงานเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันเยาวชนให้รู้เท่าทันปัจจัยเสี่ยง เหล้า บุหรี่
29 ก.ย. 65 1,556 ครั้ง การเข้าถึงการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยเป็นส่วนหนึ่งของสิทธิด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับอนามัยเจริญพันธุ์ซึ่งได้รับการรับรองในอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW) และกติการะหว่างประเทศด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICCPR) ที่ประเทศไทยเป็นภาคีและมีพันธกรณีต้องปฏิบัติตาม
29 ก.ย. 65 1,525 ครั้ง แนวคิดธนาคารเวลาช่วยสร้างสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดี 8 ข้อ 1.สังคมเกิดการรู้จักกัน 2.สามัคคีกัน 3.เกิดการเรียนรู้ในชุมชน 4.มีกิจกรรมร่วมกัน 5.เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน 6.ใส่ใจดูแลกัน 7.ช่วยจัดการปัญหาสังคม 8.พึ่งพากันในยามวิกฤต หากมองวิถีชีวิตคนไทยส่วนใหญ่มีจิตสาธารณะ อยู่กันแบบเครือญาติ จึงเชื่อว่าจะสามารถนำมาประยุกต์ให้เข้ากับพื้นที่และสถานการณ์ได้ เช่น การตั้งระบบจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ การทำชุมชนช่วยเรื่องโควิด ตั้งชมรมอนุรักษ์ประเพณี เพื่อให้เกิดสังคมสูงวัยที่มีสุขภาวะดี
29 ก.ย. 65 1,450 ครั้ง “ออมเวลา” สำคัญ! เท่า “ออมเงิน” สสส. – ภาคีเครือข่าย เผย ไทยเตรียมเข้าสู่สังคมสูงวัยระดับสูงสุด อีกไม่ถึง 20 ปี เสี่ยงพบผู้สูงอายุ คุณภาพชีวิตแย่เพิ่มขึ้น ชวนรู้จัก “ธนาคารเวลา” นวัตกรรมช่วยเหลือเกื้อกูลในชุมชนและดูแลผู้สูงอายุ ได้ผลตอบแทนเป็นเวลา
28 ก.ย. 65 3,413 ครั้ง 28 กันยายน วันยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยสากล กสม. ร่วม สสส. จัดเวทีเสวนาหนุนผู้หญิงท้องไม่พร้อมและอายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์เข้าถึงการทำแท้งถูกกฎหมาย ชงรัฐประกันสิทธิและสนับสนุนกลไกการทางการแพทย์ เพื่อลดอัตราเสียชีวิตและบาดเจ็บ
28 ก.ย. 65 1,724 ครั้ง 28 กันยายน 65 วันพิษสุนัขบ้าโลก สคร.7 จ.ขอนแก่น แนะ ยึดหลัก 3 ป. ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
27 ก.ย. 65 2,139 ครั้ง WHO-SEARO- สสส. จับมือสร้างชุมชนเมืองสุขภาวะ จัดการประชุมระดับภูมิภาคด้านธรรมาภิบาลเมืองสุขภาวะ สร้างความมั่นคงด้านสุขภาพ ผลักดันการสร้างเสริมสุขภาพของไทยและภูมิภาคเอเชียใต้และตะวันออก
27 ก.ย. 65 1,233 ครั้ง สสส.-สคอ.จับมือ จ.นครสวรรค์ และภาคี ลดอุบัติเหตุทางถนน ตั้งเป้าปี'70 เสียชีวิต ไม่เกิน 12 คนต่อแสนประชากร
26 ก.ย. 65 1,425 ครั้ง กรมสุขภาพจิต เผยปัญหาสุขภาพจิตมีแนวโน้มสูงขึ้นทั่วโลก เร่งขยายสิทธิประโยชน์ด้านการรักษา ร่วมกับ สปสช. และผลิตผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตเพิ่ม เพื่อให้การดูแลผู้ป่วยร่วมกับครอบครัวและชุมชน
26 ก.ย. 65 997 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขเผยผลสำรวจอนามัยโพลพบประชาชนอยากให้มีมาตรการ สวมหน้ากาก ล้างมือ และเว้นระยะห่างอย่างต่อเนื่อง พร้อมย้ำแม้ว่าสถานการณ์โควิด-19 ผ่อนคลาย แต่ยังต้องเฝ้าระวัง โดยเฉพาะในกลุ่มผู้เสี่ยงสูง กลุ่ม 608 และผู้ที่มีโรคประจำตัว
26 ก.ย. 65 1,166 ครั้ง ตุลาคมเตรียมไว้ 7 ล้านโดส สำหรับ 4 เป้าหมาย ติดเชื้อรายวัน 655 ตาย 12 ศพ อนามัยโพลพบปชช.ส่วนใหญ่ยังหนุนใส่ แมสก์-ล้างมือ-เว้นระยะห่าง ป้องกันโควิดกลับมาระบาดซ้ำ
26 ก.ย. 65 1,168 ครั้ง เครือข่ายครูดีไม่มีอบายมุข 4 ภาค หนุนนโยบาย รมว.ศึกษา และ สพฐ. ให้งานเลี้ยงเกษียณปลอดเหล้าบุหรี่ เพื่อรักษาจรรยาบรรณครูเป็นแบบอย่างต่อสังคม พร้อมสโลแกนงานปลอดเหล้าเพราะเราเป็นครู ขอเป็นส่วนหนึ่งในการปฏิรูปการศึกษา เพิ่มศรัทธาจากผู้ปกครองและสังคม ลดปัญหาผลกระทบต่อสังคมโดยเฉพาะอุบัติเหตุคนเมา
26 ก.ย. 65 1,268 ครั้ง กรมควบคุมโรค ชวนคนไทยหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด ลดหวาน ลดมัน ลดเค็ม ในช่วงเทศกาลถือศีล กินเจ เน้นทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ รับประทานโปรตีนทดแทนจากถั่ว และทุกมื้อควรเพิ่มผักหรือผลไม้สด
25 ก.ย. 65 912 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะก่อนกินเจควรเตรียมพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ โดยปรับระบบของร่างกายก่อนกินเจ 2 – 3 วัน เพิ่มผักในมื้ออาหารให้มากขึ้น ลดเนื้อสัตว์ให้ร่างกายได้ปรับตัว
25 ก.ย. 65 1,466 ครั้ง กรมการแพทย์ชี้สารเคมีรั่วไหลทำให้พิษเฉียบพลันและพิษเรื้อรังในกรณีที่ได้รับสะสมเป็นเวลานานโดยอาการพิษเฉียบพลันมีอาการหลายระดับตั้งแต่ระคายเคืองผิวหนัง เยื่อบุทางเดินหายใจ ตา มีน้ำมูก น้ำตาไหล แสบตา แสบคอ แน่นหน้าอก ไอ บางรายสูดดมมาก จะมีคลื่นไส้อาเจียน เดินเซ ซึ่งหากเข้าไปในร่างกายปริมาณมากอาจเสียชีวิตได้ แนะควรมีการป้องกันและซ้อมแผนกรณีฉุกเฉิน เพื่อความปลอดภัยของพนักงาน