`อ่าน` ยกกำลังสุข สร้างสังคมสุขภาวะชายแดนใต้
ที่มา: หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์
แฟ้มภาพ
ยิ่งอ่านมากยิ่งรู้มาก เป็นคำกล่าวที่ไม่ได้เกินจริงแต่อย่างใด เพราะการอ่านเป็นสิ่งหนึ่งที่ช่วยเพิ่มเติมความรู้ พัฒนาศักยภาพให้แก่มนุษย์และมีส่วนช่วยสร้างความสำเร็จในการดำเนินชีวิต ซึ่งไม่ว่าจะยุคสมัยใด ปัจจุบันหรืออนาคต การอ่านก็ยังมีความสำคัญอย่างยิ่งยวด แต่เป็นเรื่องน่าเสียดายที่สังคมไทยและคนไทยยังให้ความสำคัญกับการอ่านที่น้อยมาก
ด้วยเหตุนี้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยแผนงานสร้างเสริม วัฒนธรรมการอ่าน ร่วมกับสำนักงานคณะกรรม การการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สำนักงาน กศน.) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (สถ.) และสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร 4 สังกัดจึงจัดประชุมปฏิบัติการ "โครงการอ่านสร้างสุขยกกำลังสุขในสถานศึกษาและชุมชน" ปีการศึกษา 2559 โดยมุ่งพัฒนาศักยภาพผู้เรียน บุคลากรในสถานศึกษา ครอบครัวและชุมชน ร่วมสร้างสังคมสุขภาวะในพื้นที่ชายแดนใต้และพื้นที่ต้นแบบในกรุงเทพมหานคร เพื่อร่วมเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา 84 พรรษา 12 สิงหาคม 2559
ธรรมศาสตราภิชาน ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ อดีตเลขาธิการอาเซียน กล่าวว่า ทักษะการอ่านนับเป็นกุญแจสำคัญต่อการพัฒนาเด็กและเยาวชน เนื่องจากเป็นการเตรียมความพร้อมให้พวกเขาสามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในสังคมที่จะต้องเตรียมความพร้อมเพื่อไปแข่งขันกับคนอื่นๆ จึงเป็นเรื่องน่ายินดีที่ 4 ภาคส่วนให้ความสำคัญกับการส่งเสริมทักษะการอ่าน
นอกจากความสนุกสนานที่เกิดขึ้นจากการอ่านแล้ว สิ่งที่ตามมาก็คือจินตนาการ และมีความสุขอีกด้วย ยิ่งไปกว่านั้นยังเป็นการสอนให้เด็กรู้จักการรอคอย ความตื่นเต้นที่จะเกิดขึ้นจากตัวละครในหนังสือ เพราะการได้ทุกอย่างทันทีทันใดจะทำให้เด็กขาดสมาธิ รอไม่เป็น เห็นแก่ตัว และต้องการให้ทุกอย่างทันใจตนเอง ขณะเดียวกันเราอยู่กับคนในสังคมจำนวนมาก ทรัพยากรที่ร่อยหรอลงก็ต้องรู้จักแบ่งปัน รู้จักรอคอย และไม่เห็นแก่ตัว
ดังนั้น ทักษะการอ่านและการสร้างนิสัยรักการอ่านจะนำไปสู่การแก้ปัญหาต่างๆ ที่สังคมกำลังประสบปัญหาอยู่ในขณะนี้ ทั้งคุณธรรม อารมณ์ที่โกรธง่าย การทะเลาะไม่รู้จักแบ่งปันและไม่พร้อมพัฒนาตนเอง ซึ่งหากเราพร้อมและมีทักษะด้านการอ่านก็จะเป็นจุดเริ่มต้นของการแก้ปัญหาระยะยาวให้กับสังคม
นางสุดใจ พรหมเกิด ผู้จัดการแผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน สสส. กล่าวถึงการดำเนินงานในครั้งนี้เกิดขึ้นจาก สสส. โดยแผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่านได้จัดทำบันทึกข้อตกลง (MOU) กับองค์กรหลักด้านการศึกษา ดำเนินโครงการ "อ่านสร้างสุข" ในโรงเรียนและสถานศึกษาตั้งแต่ พ.ศ.2555 โดยการดำเนิน "โครงการอ่านสร้างสุขยกกำลังสุขในสถานศึกษาและชุมชน" ในปีการศึกษา 2559 จึงเป็นการต่อยอดเพื่อเปิดประตูสู่ชุมชนให้เห็นถึงความสำคัญของการอ่าน และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในชุมชนตลอดระยะเวลา 3 ปีของการดำเนินโครงการอ่านสร้างสุข เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัดกับชุมชนรอบข้างโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ เช่น การทะเลาะวิวาทในชุมชนลดลง เยาวชนและคนในชุมชนให้ความสนใจกับการอ่านหนังสือมากขึ้น
จึงนำมาต่อยอดกับพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนใต้ นำร่องโดย นราธิวาส ยะลา ปัตตานี สงขลา และสตูล รวม 30 โรงเรียน รวมถึงสังกัดสำนักการศึกษา กทม. 10 โรงเรียน ทั้งนี้ สสส.เป็นเพียงผู้จุดประกายให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ให้ 4 หน่วยงานหลักได้ทำงานร่วมกัน ได้เห็นแนวคิดและวิธีการทำงานที่แตกต่างกัน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน โดยการนำผู้บริหารสถานศึกษา แกนนำชุมชน ครู แกนนำนักปฏิบัติและนักเรียนโรงเรียนละ 2 คนเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการในครั้งนี้ เพื่อให้เข้าใจเทคนิคและแนวทางส่งเสริมการอ่านอย่างถูกต้อง ซึ่งต้องทำให้การอ่านเป็นเรื่องสนุกไม่ผูกติดกับวิชาการมากจนเกินไป และต้องเกิดความสุขกับการอ่านเพราะความสุขจะทำให้เคมีในสมองทำงานดีขึ้น อีกทั้งยังเป็นการสร้างกระบวนการจดจำการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ขณะที่ ดร.นพ.ไพโรจน์ เสาน่วม ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ สสส. เปิดเผยว่า ทักษะการอ่านเป็นพื้นฐานสำคัญของการเสริมสร้างสติปัญญาให้กับคนทุกวัย เมื่อมีสติปัญญาที่ดีจะเชื่อมโยงไปสู่สุขภาพจิตและส่งต่อไปยังสุขภาพกายที่ดีด้วย ซึ่งสภาพแวดล้อมก็เป็นปัจจัยสำคัญต่อการสร้างเสริมการอ่านได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ปัจจุบันเราอยู่ในยุคสื่อหลอมรวมที่สามารถเข้าถึงเนื้อหาสาระได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งก็เป็นอีกหนึ่งช่องทางที่จะทำให้เราสามารถพัฒนาทักษะการอ่านได้อย่างไร้ขีดจำกัด และไม่เพียงแต่อ่านให้ได้สาระความรู้เท่านั้น แต่อ่านแล้วต้องเลยยืนถ่ายรูปกันด้วยความชื่นอกชื่นใจรู้จักคิดตามและนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้แม่บอกว่า ไม่คิดว่าจะเห็นน้ำตกที่สวยงามด้วยขนาดนี้ และด้วยวัยขนาดนี้ก็ไม่คิดเลยว่าจะมี
ด้าน ครูชำนาญการ นางสาวอารมณ์ ชูโชติ โรงเรียนชุมชนบ้านบ่อประดู่ จ.สงขลา เล่าว่า จากปัญหายาเสพติดและความรุนแรงที่เกิดขึ้นภายในชุมชนข้างโรงเรียน จึงได้เข้าร่วมโครงการพร้อมกับชมบรรยากาศยามค่ำคืนของเมืองมรดกอ่านสร้างสุขเมื่อ พ.ศ.2557 โดยหวังว่าการอ่านหนังสือจะช่วยแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้ ซึ่งได้เปิดหลวงพระบางที่เห็นตรงหน้า ยามค่ำคืน ดูพื้นที่การอ่านภายในชุมชนเป็นห้องสมุดเคลื่อนที่เป็นเมืองทันสมัย ด้วยสถาปัตยกรรมตามสไตล์โคและได้รับความสนใจจากคนในชุมชนอย่างดี ทำให้โลเนียลที่ฝรั่งเศสทิ้งไว้ให้ การก่อสร้างในหลวงพระเห็นการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดีขึ้น ปัญหาเสพบางจะต้องได้รับอนุญาตทั้งแบบแปลน หรือแม้แต่สีติดและความรุนแรงลดลง เกิดการทำงานร่วมของกระเบื้องมุงหลังคา เพื่อสร้างความเป็นระเบียบกันระหว่างโรงเรียนและชุมชน และจากการเข้าร่วมโครงการดังกล่าวทำให้ได้รู้จักเทคนิคการส่งกินอาหารเสร็จสรรพเตรียมตัวเข้านอน เพราะเสริมการอ่านที่จะนำมาปฏิบัติกับชุมชนได้อย่างมีตอนเช้ามีนัดกันว่าจะไปตักบาตรข้าวเหนียวกันในประสิทธิภาพ เมื่อคนในชุมชนใส่ใจกับการอ่านมากขึ้น คุณภาพชีวิตของเขาก็ดีขึ้นด้วยเป็นกิจกรรมที่พวกเราทุกคนอยากมีโอกาสได้
จะเห็นว่า คุณประโยชน์ของการอ่านเป็นการทำสักครั้งในชีวิตและเป็นเหตุผลที่ดั้นด้นมาหลวงเปิดหน้าต่างให้เราพบโลกที่กว้างและแสวงหาความรู้ที่สูงขึ้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะนำไปสู่การพัฒนาตักบาตรด้วยข้าวเจ้ากันมาทั้งชีวิตแล้ว ลองมาคุณภาพชีวิตที่ดีได้ต่อไปในอนาคต