01 มี.ค. 68 141 ครั้ง น่าห่วง ! คนไทยเผชิญปัญหาโรค NCDs พบป่วยโรคเบาหวานพุ่ง 6.5 ล้านคน วัยทำงานเสี่ยงสูง สาเหตุจากรับประทานอาหารเน้นหวาน มัน เค็ม-ดื่มแอลกอฮอล์จัด-ขาดการออกกำลังกาย สสส. สานพลัง สมาคมนักสร้างสุขภาวะองค์กร หนุนสถานประกอบการใช้แนวคิด ‘Happy Workplace’ สื่อสารสุข ส่งต่อนวัตกรรม-เครื่องมือ-ชุดความรู้สุขภาพ เกิดองค์กรสุขภาวะต้นแบบ 50 แห่ง คนทำงานสุขภาพแข็งแรงขึ้น 13% สุขภาพจิตดี-มีความสุขในการทำงาน 19%
01 มี.ค. 68 45 ครั้ง HAPPY WORK, HAPPY LIFE มีความหมายถึงการทำงานที่มีความสุข นำไปสู่ชีวิตที่สมดุลและยั่งยืน แม้เป็นคำที่หลายคนเข้าใจ แต่สภาพเศรษฐกิจ สังคมปัจจุบันจะพบว่า มีสิ่งที่สับสนวุ่นวายเกิดขึ้นกับชีวิตของเราในการอยู่ร่วมกัน ล้วนทำให้ตัวเราขาดความสุข มีความเครียด เราจะคิดอย่างไรที่จะทำให้ตัวเราไม่ทุกข์มากขึ้นไปกว่านี้หรือให้ทุกข์ลดน้อยลง…
20 ธ.ค. 67 227 ครั้ง รัฐสภา สานพลัง สสส.-ภาคี 19 องค์กร จัดงาน “มหกรรมสุขภาพ Parliament Health 2024” หนุนองค์ความรู้ดูแลสุขภาพกาย-ใจ
26 ก.ค. 67 386 ครั้ง ปฏิเสธไม่ได้ว่า วงการอุตสาหกรรมสิ่งทอ แฟชั่น ไลฟ์สไตล์ เครื่องหนัง เครื่องประดับของไทย ถูกรังสรรค์ท่ามกลางความคิดที่เป็นอิสระและกดดัน จึงเป็นเหตุให้บางคนแวะเวียนเข้าและออกจากงานที่ทำบ่อยครั้ง เหตุผลอาจมาจากค่าตอบแทนที่ดี แต่ต้องแลกมากับการสูญเสียเวลาส่วนตัว ทำให้คนที่ทำงานอุตสาหกรรมสิ่งทอไม่สามารถ work life balance สร้างสมดุลชีวิตในการทำงานได้ ดังนั้นแนวคิด Happy workplace จึงถูกหยิบยกสนับสนุนให้คนได้นำปฏิบัติ
19 ก.ค. 67 457 ครั้ง ในการประกวดรางวัลนวัตกรรมสร้างสุของค์กร ในโครงการบ่มเพาะนวัตกรรมสร้างสุของค์กร (Happy Workplace Innovation Incubation) ที่จัดขึ้นโดยสสส. ร่วมกับ สถาบันการเรียนรู้การสร้างเสริมสุขภาพ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เพื่อสนับสนุนให้คนในองค์กรได้มีส่วนร่วมคิด ค้นหา บ่มเพาะ เกิดนวัตกรรมที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับคนในองค์กร ไม่ว่าจะภาคเอกชน หรือ ภาครัฐ และก่อให้เกิดความสุข
15 ก.ค. 67 282 ครั้ง เพราะ 1 ใน 3 ของชีวิตคนเรา หมดไปกับการทำงาน ดังนั้นจะดีแค่ไหน หากทั้งชีวิตที่ทุ่มเทไป นอกจากสร้างรายได้แล้วยัง “สร้างสุข” เมื่อที่ทำงานสร้างสุขได้ ตลอดเวลา 8 ชั่วโมงของการทำงานจะไม่ใช่เวลาแห่งความวิตกกังวลในชีวิต
19 มิ.ย. 67 585 ครั้ง กลยุทธ์สร้างสุข เติมไฟให้กับคนทำงาน เรื่องราวฝันให้ไกล และต้องไปให้ถึง เพื่อให้คนสำราญ งานสำเร็จ สวรรค์ของคนทำงาน สุข และสนุกทุกวัน
19 ก.พ. 67 1,200 ครั้ง NCDs คร่าชีวิตคนไทยถึง 75% ซ้ำ แนวโน้มผู้ป่วยเบาหวาน-ความดันเพิ่มปีละ 5% วัยแรงงานอ่วม พฤติกรรมเสี่ยงสูงสุด สสส. ชูนวัตกรรม ‘Healthy Lifestyle Package’ ส่งต่อความรู้ 7 ประเด็นสุขภาพ มุ่งขยายผลต้นแบบ 80 องค์กร สู่ ‘องค์กรยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาวะ’
11 ก.ค. 66 15,212 ครั้ง เมื่อวันที่ 11 ก.ค. 2566 ที่โรงแรมอัศวิน แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์ ผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กล่าวเปิดเวทีสาธารณะ งานบุคลากรภาครัฐวิถีใหม่สู่การออกแบบองค์กรสุขภาวะ และปาฐกถาความจำเป็นในการทำงานสุขภาวะภาครัฐของ สสส. ว่า การสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กร ภายใต้แนวคิดองค์กรสุขภาวะ “Happy Workplace” เป็น 1 ในนวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่ยั่งยืนตามยุทธศาสตร์ไตรพลัง มีเครือข่ายองค์กรสุขภาวะนำไปใช้เป็นนโยบายองค์กร กว่า 10,000 องค์กร เกิดนักสร้างสุของค์กร กว่า 8,800 คน"
15 ส.ค. 62 4,725 ครั้ง ลักษณะสำคัญขององค์กรแห่งความสุข คือการปรับตัวทันต่อการเปลี่ยนแปลง เป็นองค์กรที่มีความคิดสร้างสรรค์ในการอยู่ร่วมกัน และออกแบบการพัฒนาให้เหมาะสมกับองค์กร
09 ส.ค. 62 4,040 ครั้ง สสส. ร่วมกับ กรมอนามัย เดินหน้าขยาย Happy Workplace ผนึกกำลัง 6 หน่วยงานชั้นนำ มั่นใจนวัตกรรม “10 แนวทางสร้างสุข อายุยืน” สร้างจุดแข็งแรงงานไทยสุขภาพดี
19 มิ.ย. 62 9,698 ครั้ง เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์การสร้างองค์กรคุณธรรมศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน) ร่วมกับมูลนิธิหัวใจอาสา ได้จัดงาน MORAL BUSINESS FORUM 2019
10 พ.ค. 62 2,648 ครั้ง หากจะถามว่าการสร้างองค์กรสุขภาวะควรจะเริ่มจากสิ่งใดเป็นสิ่งแรก ก็คงตอบได้ว่าความเชื่อถือเชื่อมั่น (Trust) เป็นสิ่งที่สำคัญสิ่งแรกที่ต้องคำนึงถึงและปฏิบัติ ทุกองค์กรจะอยู่รอดได้หรือไม่นั้นอยู่ที่ Trust ระหว่างกันและกันในองค์กร พฤติกรรมผู้บริหาร ระบบในองค์กรจะเป็นสิ่งที่สะท้อน Trust ขององค์กร บริษัท เวสเทิร์น ดิจิตอล (ประเทศไทย) จำกัด (WD) ให้ความสำคัญกับ Trust ในองค์กรเป็นอย่างยิ่ง โดยเชื่อว่าเมื่อคนในองค์กรมีความสุข Trust ที่มีต่อองค์กรก็จะตามมา
01 เม.ย. 62 1,916 ครั้ง งานมหกรรมองค์กรสุขภาวะ KKU Happy Healthy Day ภายใต้โครงการวิจัย การพัฒนากระบวนการและรูปแบบการสร้างสุขระดับองค์กร สู่องค์กรสุขภาวะ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและเครือข่ายภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
06 มี.ค. 62 2,813 ครั้ง วงเสวนาห้องย่อย "ลูกจ้างได้อะไรจาก พ.ร.บ.การป้องกัน และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น" ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของ "การประชุมระดับชาติ เรื่องสุขภาวะทางเพศครั้งที่ 3 : การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จากยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติที่ยั่งยืน"