18 มี.ค. 64 5,726 ครั้ง มีเหตุผลมากมายที่ทำให้คนส่วนใหญ่ยังหลงเชื่อใน ‘ข่าวปลอม’ ต่างๆ ดังนั้น เพื่อป้องกันไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของข่าวปลอมอีก ลองมาดูกันดีกว่าว่า จุดอ่อนที่อาจทำให้เราหลงเชื่ออยู่ตรงไหน? จะช่วยให้เราระมัดระวังกันมากขึ้น
25 พ.ค. 63 4,002 ครั้ง เผยคนไทยเสพข่าวปลอมด้านสุขภาพ ช่วง โควิด-19 ผ่านช่องทางยอดนิยมอย่างเฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ พบหลายข่าวมีการแชร์ต่อจำนวนมาก แต่ให้ความเห็นในเชิงแก้ข่าวน้อย แนะคนไทย รู้เท่าทันสื่อ รัฐ เอกชน ประชาชน และสื่อหลัก ร่วมมีบทบาทในการสร้างความเข้าใจ แก้ข่าวปลอม ให้ข้อเท็จจริง
26 มิ.ย. 62 2,394 ครั้ง จากปัญหาข่าวปลอมสะพัดอยู่ในโลกออนไลน์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) นำโดย ดร.นพ.ไพโรจน์ เสาน่วม ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ จึงจัดเสวนาเรื่อง 'รวมพลังขับเคลื่อนต่อต้านข่าวลวงข่าวปลอม'
25 มิ.ย. 62 9,321 ครั้ง ปัจจุบันคนเรารับข้อมูลข่าวสารกันอย่างมากมาย เริ่มตั้งแต่ตื่นนอน นั่นเพราะความสะดวกจากเทคโนโลยีที่เอื้อให้เข้าถึงข้อมูลและข่าวสารมากขึ้น แม้ตอนเดินทางไปทำงาน อยู่บนรถไฟฟ้า รอรถเมล์ หรือตอนเข้าห้องน้ำในออฟฟิศ
21 มิ.ย. 62 9,962 ครั้ง เทคโนโลยีในยุคปัจจุบัน ทำให้ทุกคนมีโอกาสที่จะเป็นทั้งสื่อและ ผู้รับสื่อเองได้ ขณะเดียวกันโอกาสดังกล่าวกำลังกลายเป็นดาบสองคม เพราะอีกผลกระทบที่ตามมา คือวันนี้สังคมกำลังขาดการตรวจสอบที่มาที่ไป ของข่าวสาร และน้ำหนักความน่าเชื่อถือ
19 มิ.ย. 62 2,899 ครั้ง 8 ภาคีนักวิชาการวิชาชีพ จัดเวทีถอดบทเรียน Fake News 'วสันต์' ชี้สร้างความเสียหายวงกว้าง หวังผู้ใช้งานสื่อใหม่รู้เท่าทัน 'รมว.ดิจิทัลไต้หวัน' ยกโมเดลรัฐต้องแบ่งปันข้อมูลถูกต้องภายใน 60 นาที หากเกิดข่าวลวง
17 มิ.ย. 62 2,844 ครั้ง ในยุคที่สื่อสังคมออนไลน์ขยายตัวอย่างรวดเร็ว ทุกคนสามารถเป็นสื่อเองได้ ข่าวลวง ข่าวปลอม หรือ เฟกนิวส์ จึงแพร่กระจายจนกลายเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศไทยและอีกหลายประเทศทั่วโลก
14 มิ.ย. 62 3,773 ครั้ง ปฏิเสธไม่ได้ว่าข่าวปลอมที่แชร์ว่อนโลกโซเชียลมีเดียเป็นหนึ่งในปัญหาสะสมมานาน ก่อผลร้ายต่อคนไทยทุกช่วงวัย ไม่ว่าจะเป็นข้อความโฆษณาชวนเชื่อผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพความสวยความงาม ยารักษาโรคที่เสนอเนื้อหาเกินจริง หรือข่าวปลอมทั้งข้อความหยาบคาย ภาพรุนแรงและคลิปวิดีโอไม่เหมาะสมเผยแพร่บนสื่อออนไลน์ หวังต้องการยอดผู้ชมโดยไม่คำนึงความถูกต้อง