25 ส.ค. 64 3,036 ครั้ง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ห่วงผู้ป่วยเบาหวาน คุมน้ำตาลให้ดี อย่าขาดยาอย่างเด็ดขาด และรีบเข้ารับบริการฉีดวัคซีนโควิด 19 ที่สถานบริการสาธารณสุขใกล้บ้านให้ครบ 2 เข็ม วัคซีนจะลดความรุนแรง และในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่คุมน้ำตาลในเลือดไม่ดี หากติดเชื้อโควิดจะมีผลทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ทำให้เชื้อไวรัสแพร่จำนวนได้มากขึ้น อาการจะรุนแรงกว่าคนทั่วไปถึง 2 เท่าตัว
22 มิ.ย. 64 2,086 ครั้ง กรมการแพทย์ โดยโรงพยาบาลสงฆ์ แนะแนวทางการดูแลรักษาสุขภาพในพระภิกษุสงฆ์ ให้ห่างไกลจากโรคเบาหวาน หลังพบสถิติการเข้ารับการรักษาของพระภิกษุสงฆ์ด้วยอาการอาพาธจากโรคเบาหวานพุ่งสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง คาดมีสาเหตุหลักจากการถวายภัตตาหารเพลจากพุทธศาสนิกชนที่ไม่ถูกหลักโภชนาการ เล็งเร่งประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เบื้องต้นด้านโภชนาการ หวังช่วยลดจำนวนพระภิกษุสงฆ์อาพาธจากโรคเบาหวานได้
13 พ.ค. 64 3,898 ครั้ง ในฐานะประธานเครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน กล่าวถึง การเก็บภาษีความหวานในเครื่องดื่มผสมน้ำตาล ว่า นับตั้งแต่กรมสรรพสามิตดำเนินการ จัดเก็บมาตั้งแต่ปี 2560 ส่งผลให้โรงงานผลิตเครื่องดื่มปรับกระบวนการผลิตที่เน้นลดการใช้น้ำตาลทรายลง เพื่อหลีกเลี่ยง การจ่ายภาษีความหวานที่เพิ่มขึ้น จึงเกิดผลดีทางสุขภาพแก่ประชาชน มีทางเลือกการบริโภคเครื่องดื่ม รสชาติหวานน้อยแก่ประชาชนมากขึ้น
28 เม.ย. 64 2,712 ครั้ง จากการสังเกตผู้เสียชีวิต จากการระบาดของโควิด 19 ระลอกใหม่ พบว่า ปัจจัยเสี่ยงส่วนใหญ่ ได้แก่ "โรคอ้วน" รวมถึงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ซึ่งอยู่ใน กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) หลายรายเป็นผู้ที่มี "อายุน้อย" ภาพรวมในระลอกเดือนเม.ย. พบผู้เสียชีวิตมีอายุเฉลี่ย 29 ปี ต่างจาก การระบาดระลอกที่ผ่านมาซึ่งผู้เสียชีวิต ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว
10 มี.ค. 64 10,325 ครั้ง ปัจจุบันทั้งองค์กรรัฐ หน่วยงานด้านการแพทย์ และภาคีเครือข่าย พยายามรณรงค์เรื่องการปรับพฤติกรรมลดการกินเค็ม ซึ่งนำไปสู่การเกิด โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตวายเรื้อรัง หรือแม้กระทั่งโรคอ้วน แต่หลายคนก็ยังไม่ปรับพฤติกรรมการกินเค็ม เพราะยึดติดในรสชาติอาหารที่คุ้นลิ้น วันนี้ เราขอเสนอแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินด้วยวิธีง่ายๆ ให้ลองปฏิบัติกันในชีวิตประจำวัน
04 ก.พ. 64 10,591 ครั้ง รู้หรือไม่ว่า ผู้ที่มีโรคประจำตัวในกลุ่มโรค NCDs หรือโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หากติดเชื้อ COVID-19 จะทำให้มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนและอาการรุนแรงมากกว่าปกติ
23 พ.ย. 63 6,714 ครั้ง หากหลอดเลือดที่มาเลี้ยงขาและเท้ามีปัญหาจะทำให้ขบวนการการรักษาแผลของร่างกายเป็นไปอย่างล่าช้า ทั้งนี้หากมีการติดเชื้อรุนแรงร่วมด้วยผู้ป่วยอาจต้องถูกตัดเท้าหรือขา ซึ่งผู้เป็นเบาหวานมีความเสี่ยงต่อการถูกตัดขามากกว่าผู้ที่ไม่เป็นเบาหวานถึง 25 เท่า โดยผู้ที่เป็นเบาหวานที่มีประวัติการมีแผลมาก่อน มีโอกาสการเกิดแผลซ้ำใน 5 ปี คิดเป็นร้อยละ 70 ทั้งนี้พบว่า ร้อยละ 85 ของการสูญเสียสามารถป้องกันได้โดยการตรวจและดูแลรักษาตั้งแต่ระยะแรก ดังนั้น การตรวจค้นหาและดูแลตั้งแต่ระยะแรกจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพเท้าในผู้เป็นเบาหวาน
12 พ.ย. 63 14,035 ครั้ง “พี่คะ ขอหวานน้อยค่ะ” ประโยคยอดฮิตของสาวออฟฟิศ ที่ต้องรีบบอกกำชับแม่ค้าในการปรุงอาหารและเครื่องดื่ม ให้โดนใจ ถึงแม้อาหารจะไม่ค่อยถูกปาก แต่ด้วยวิถีของคนที่รักสุขภาพ นาทีนี้ ต้องสั่งหวานน้อยจนติดเป็นนิสัยแล้วล่ะสิ
20 ต.ค. 63 8,738 ครั้ง อยากรู้ไหมว่าตัวเองให้ติดหวานอยู่หรือเปล่า? ลองมาทำแบบทดสอบง่ายๆ นี้กันดีกว่า จะได้ชี้ชัดกันไปเลยว่าคุณติดหวานหรือไม่
01 ก.ย. 63 20,012 ครั้ง มะระขี้นก เป็นผักพื้นบ้านของไทย คนไทยทุกภาคนำยอดอ่อนและผลอ่อนมาปรุงเป็นอาหารโดยนำมาลวกเป็นผักจิ้ม อาจจะนำไปผัดหรือแกงร่วมกับผักอื่นแต่นิยมลวกน้ำและเทน้ำทิ้งก่อนเพื่อลดความขม มีวิตามินเอและซีสูง ในส่วนของจีน พม่า อินเดีย แอฟริกาและอเมริกาใต้ก็กินเป็นผักเช่นเดียวกัน โดยอินเดียจะปรุงเป็นแกง ศรีลังกานำไปปรุงเป็นผักดอง อินโดนีเซียกินเป็นผักสด
12 มิ.ย. 63 47,605 ครั้ง สำหรับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน พฤติกรรมการรับประทานอาหารเป็นปัจจัยสำคัญหนึ่งที่ช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และบรรเทาอาการของโรคลงได้ ทั้งนี้อาหารสำหรับผู้ที่มีอาการของโรคเบาหวาน ไม่ได้แตกต่างจากอาหารที่คนทั่วไปกินกัน เพราะยังคงต้องทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เพียงแต่จะต้องระวังในการเลือกชนิดอาหาร และควบคุมปริมาณให้เหมาะสม
03 เม.ย. 63 4,392 ครั้ง ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ป่วยเบาหวาน ที่มีถึง 4.8 ล้านคน ซึ่งกำลังเป็นกลุ่มเสี่ยง ที่มีแนวโน้มหากติดเชื้อโควิด-19 แล้วจะ มีอาการรุนแรงมากกว่ากลุ่มอื่น
16 มี.ค. 63 2,201 ครั้ง ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 11 เป็นร้อยละ 21" สถิติของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่าระหว่างปี 2554-2560
24 ก.พ. 63 2,903 ครั้ง เครื่องดื่มรสหวานต่อพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนโดยสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ปี 2562 พบว่า โดยเฉลี่ยในแต่ละวัน คนไทยดื่มเครื่องดื่มที่ผสมน้ำตาลเฉลี่ยกว่า 3 แก้ว หรือ 519.3 มิลลิลิตร โดยผู้ชายดื่มมากกว่าผู้หญิงและพบว่าในกลุ่มเด็กอายุ 6-14 ปี เป็น กลุ่มที่ดื่มเครื่องดื่มที่ผสมน้ำตาลเฉลี่ยต่อสัปดาห์มากที่สุด
08 ม.ค. 63 4,549 ครั้ง โรคเบาหวานเมื่อป่วยแล้วต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยจึงมีความเสี่ยงเกิดผลกระทบทางใจได้สูงกว่าคนทั่วไป ที่เป็นห่วงก็คือปัญหาความเครียดและซึมเศร้าจะมีผลต่อประสิทธิภาพการรักษาด้วย โดยมีผลการศึกษาพบว่าผู้ป่วยเบาหวานมีโอกาสเกิดภาวะซึมเศร้าสูงกว่าคนปกติทั่วไปประมาณ 2 เท่าตัว
19 ก.ค. 62 47,391 ครั้ง มีคนจำนวนมากยังไม่รู้ถึงอันตรายที่ซ่อนอยู่ในพฤติกรรมการกินของตัวเองและกำลังสร้างโรคต่างๆแบบไม่รู้ตัว เราจึงควรรู้ว่ากินอย่างไรที่จะก่อภัยเงียบ กินอย่างไรถึงดีต่อสุขภาพ แล้วควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหารอย่างไรจึงจะไม่ทำร้ายร่างกาย