12 มี.ค. 62 3,889 ครั้ง จัดงานเสวนาสาธารณะ หัวข้อ สังคมสูงวัยไทย-ญี่ปุ่น : สูงวัยอย่างมีพลังในโลกยุคดิจิทัล
08 มี.ค. 62 5,218 ครั้ง เพราะชีวิตคนในเมืองมีความโดดเดี่ยวสูง ต่างคนต่างอยู่ ซึ่งอาจเป็นต้นเหตุปัญหาสุขภาพใจมากขึ้นต่อเนื่อง โดยเฉพาะผู้สูงอายุ ที่มีผลวิจัยพบว่า ผู้สูงวัย ที่อาศัยอยู่ในเมืองมีโอกาสเป็นโรคซึมเศร้าสูงกว่าผู้สูงวัยที่อยู่ต่างจังหวัดถึง 60%
08 มี.ค. 62 10,516 ครั้ง การเข้าสู่สังคมสูงวัยเป็นเรื่องสำคัญทั้งในระดับครอบครัวและประเทศ เพราะถูกบรรจุเป็นแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี และในปี 2563 จะมีอัตราส่วนการพึ่งพิงของผู้สูงอายุต่อคนวัยทำงาน คือ วัยทำงาน 100 คน ต้องดูแลผู้สูงอายุ 30.3 คน ทุกฝ่ายจึงต้องเร่งเตรียมความพร้อมอย่างรอบด้าน
12 ก.พ. 62 2,157 ครั้ง เป็นที่ทราบดีว่าประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงวัยแล้ว โดยปี 2564 มีการคาดการณ์ว่าไทยจะเป็น "สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์" คือมีสัดส่วนประชากรสูงวัยร้อยละ 20 ต่อประชากรทั่วไป และอีก 10 ปีจากนั้นจะขยับเป็น "สังคมสูงวัยระดับสุดยอด" คือมีประชากรสูงวัยถึงร้อยละ 28 ในปี 2574
21 พ.ย. 61 5,329 ครั้ง ผู้สูงอายุบ้านทับไทร ต.ทับไทร อ.โป่งน้ำร้อน จ.จันทบุรี เมื่อผู้สูงวัย 84 ราย ลุกขึ้นมาจัดการตัวเองด้วยการจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุบ้านทับไทร ทำกิจกรรมร่วมกันทั้งด้านการดูแลตัวเอง ผู้อื่น และสังคม
09 พ.ย. 61 3,022 ครั้ง สถาบันคีนันฯ หารือ พม.และ สสส.จัดทำแผนปฏิบัติการ กระตุ้นคนไทยทุกภาคส่วนตื่นตัวรับมือสังคมสูงอายุ ด้านนักวิชาการสหรัฐชี้เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสารช่วยให้ คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุดีขึ้น
08 พ.ย. 61 6,215 ครั้ง ผู้สูงอายุกว่า 30 คน รวมตัวกันเพื่อเรียกเหงื่อ โดยใช้อุปกรณ์ทำเองอย่างง่ายๆ ด้วยการร้อยหนังยางหลายๆ เส้นเข้าด้วยกัน ปลายทั้งสองข้างผูกด้วยกะลามะพร้าว ใช้เป็นอุปกรณ์ยืดเส้นยืดสาย อันเป็นที่มาของชื่อ “ยางยืดกะลาพาสุข”
19 ต.ค. 61 3,218 ครั้ง “Spiritual Health” เทคนิคดีๆ ที่ช่วยเสริมสร้างความสุข พร้อมส่งต่อการมีสุขภาพใจและกายที่ดี
09 ต.ค. 61 6,585 ครั้ง ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มตัวในปี 2568 การวางนโยบายและเตรียมความพร้อมรับมือจึงเป็นเรื่องสำคัญ โดยเฉพาะทัศนคติของเด็ก เยาวชน ที่มีวัยแตกต่างกัน เพื่อทำให้เกิดความเข้าใจและสามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับวัยเก๋าได้อย่างมีความสุข
05 ต.ค. 61 2,763 ครั้ง ผลจากการวิเคราะห์ปัญหาทางสุขภาพของประชากรกลุ่มเฉพาะ ซึ่งมีปัจจัยเสริมมาจากความเหลื่อมล้ำทางสังคม เช่น สุขภาพ เพศ ศาสนา ความเชื่อ เชื้อชาติ สัญชาติ การศึกษา การทำงาน รายได้และการรวมกลุ่ม ส่งผลให้ขาดโอกาสในการเข้าถึงหรือ เข้าถึงได้ยาก