20 ก.ค. 66 2,570 ครั้ง ร่วมสร้างสุขภาวะชุมชนที่ยั่งยืนแบบ สสส. สร้างสุขภาวะชุมชนทั่วประเทศ 8 ประเด็น 26 เป้าหมาย สมาชิก อปท. 3,526 แห่ง
14 ก.ค. 66 16,175 ครั้ง ปิดท้ายอย่างน่าประทับใจวันสุดท้าย 9 กรกฎาคม 2566 กับ เวที “สานพลัง สร้างนวัตกรรม สู่สุขภาวะชุมชนที่ยั่งยืน” ปี 2566 ที่สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ทั่วประเทศ ที่มีจำนวนถึง 3,526 ตำบล ได้เป็นตัวแทนเดินทางเข้ามาร่วมสานพลัง แบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ต่อยอดการสร้างรากฐานชุมชนที่แข็งแรงกว่าเดิม ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี ระหว่าง วันที่ 7 -9 กรกฎาคม 2566 ที่ผ่านมา
10 ก.ค. 66 2,436 ครั้ง เวที สานพลัง สร้างนวัตกรรม สู่สุขภาวะชุมชนที่ยั่งยืน ปี 2566 พลังชุมชนท้องถิ่น ตอบโจทย์ประเทศ
09 ก.ค. 66 17,189 ครั้ง เมื่อวันที่ 9 ก.ค. 2566 ในงาน เวที “สานพลัง สร้างนวัตกรรม สู่สุขภาวะชุมชนที่ยั่งยืน” ปี 2566 วาระ : พลังชุมชนท้องถิ่น ตอบโจทย์ประเทศ ที่สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ จัดขึ้น ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี
08 ก.ค. 66 17,488 ครั้ง เมื่อวันที่ 8 ก.ค. 2566 ในงาน เวที “สานพลัง สร้างนวัตกรรม สู่สุขภาวะชุมชนที่ยั่งยืน” ปี 2566 วาระ : พลังชุมชนท้องถิ่น ตอบโจทย์ประเทศ ที่สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ จัดขึ้น ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี โดยมี นพ.โกเมนทร์ ทิวทอง รองผู้อำนวยการสำนักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) นพ.อภิชาติ รอดสม รองเลขาธิการสำนักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) นายศิริพันธ์ ศรีกงพลี รองอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (สถ.) ดร.ภูนท สลัดทุกข์ เลขาธิการสมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทย เข้าร่วม
07 ก.ค. 66 18,985 ครั้ง เมื่อวันที่ 7 ก.ค. 2566 ที่ ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ จัดงาน เวที “สานพลัง สร้างนวัตกรรม สู่สุขภาวะชุมชนที่ยั่งยืน” ปี 2566 วาระ : พลังชุมชนท้องถิ่น ตอบโจทย์ประเทศ มุ่งเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่น
06 มิ.ย. 66 16,651 ครั้ง ปัจจุบันสังคมเมืองมีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในเรื่องของสังคม เศรษฐกิจ และสุขภาพ แต่ในความเจริญก้าวหน้าของเมืองใหญ่นั้นกลับตอบสนองความต้องการของกลุ่มชนชั้นกลางขึ้นไป ทำให้เกิดช่องว่างในสังคมของกลุ่มคนที่ถูกเรียกว่า “คนจนเมือง” ในการเข้าถึงสิทธิ์ต่าง ๆ นั้นดูจะเป็นเรื่องยากกว่าคนกลุ่มอื่น จนกลายเป็นความเหลื่อมล้ำ
12 พ.ค. 66 1,044 ครั้ง ประกาศเชิญชวนเสนอราคากลางงานซื้อ/จ้าง จัดเวทีสานพลัง สร้างนวัตกรรม สู่สุขภาวะชุมชนที่ยั่งยืน ปี 2566
03 มี.ค. 66 1,955 ครั้ง สสส.-กทม. สานพลังภาคีกว่า 100 องค์กร แสดงพลังแก้ปัญหาขยะมูลฝอยอย่างยั่งยืน เน้นจัดการขยะที่ต้นทาง ผ่านเครือข่าย BKK Zero Waste ต่อยอดแคมเปญไม่เทรวม ลดปัญหาสิ่งแวดล้อม-สุขภาพประชาชน นำร่องเขตปทุมวัน พญาไท หนองแขม หลังพบเมืองกรุงสร้างขยะมากถึง 18% ของทั้งประเทศ
21 พ.ย. 65 7,206 ครั้ง “ชุมชนเข้มแข็ง คือรากฐานสำคัญของการมีสุขภาพดี และเป็นรากฐานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีในทุกด้าน” คำกล่าวสุดประทับใจของ ดร. สุปรีดา อดุลยานนท์ ผู้จัดการกองทุน สสส. จากงานมหกรรม “ฮักแพงแบ่งปัน อีสานสร้างสุข ครั้งที่ 5” ปีนี้จัดขึ้นที่จังหวัดขอนแก่น เมืองเสียงแคนแดนดอกคูนนั่นเอง งานนี้มีความพิเศษจากหลายชุมชนสุขภาวะเข้มแข็งในเขตภาคอีสานมารวมตัวกัน มัดรวมผลงานเด่นการสร้างเสริมสุขภาพของชุมชนแต่ละแห่งมาไว้ในงานนี้ เพื่อร่วมแชร์ บอกเล่าเรื่องราว แลกเปลี่ยน เรียนรู้การสร้างชุมชนเข้มแข็งของแต่ละชุมชน เดินหน้าขยายการสร้างชุมชนเข้มแข็งให้เพิ่มขึ้น
09 ก.ค. 65 1,247 ครั้ง สสส. รวมพลังเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ประกาศเจตนารมณ์ทศวรรษที่ 3 สร้างเสริมสุขภาวะชุมชน มุ่งบูรณาการสานพลัง สร้างนวัตกรรมชุมชน รับมือความเปลี่ยนแปลงสังคมโลก พร้อมมอบประกาศเกียรติบัตร “ศูนย์เรียนรู้การสร้างเสริมสุขภาพ” 93 แห่ง ถ่ายทอดต่อยอดภาคีเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพ
07 ก.ค. 65 2,584 ครั้ง “สาธิต” ชื่นชม สสส.-เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ฐานรากสังคมสุขภาวะ เข้มแข็งพึ่งตนเอง ลดความเหลื่อมล้ำ เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่- สสส. รวมพลัง 8 หน่วยงาน เพิ่มขีดความสามารถชุมชนท้องถิ่นสร้างเสริมสุขภาพ
21 ธ.ค. 63 6,269 ครั้ง ภัยพิบัติทางสิ่งแวดล้อมได้กลายเป็นภัยคุกคามและเป็นความเสี่ยงต่อการดำรงชีวิตอย่างปกติสุขของผู้คนในสังคมมากขึ้น จากหลายเหตุการณ์ของภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ทำให้เห็นว่า การป้องกันภัยพิบัติที่ผ่านมานั้น ยังไม่สารมารถลดทอนความเสียหายให้น้อยลงได้มากนัก