03 ก.ค. 61 2,433 ครั้ง สภาเภสัชกรรม ร่วมกับ องค์กรเครือข่ายวิชาชีพเภสัชกรรม ได้จัดกิจกรรม “สัปดาห์เภสัชกรรม ประจำปี 2561” เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนไทยมีการใช้ยาและสมุนไพรอย่างสมเหตุผล เหมาะสมกับโรค ในขนาดและระยะเวลาการใช้ที่ถูกต้อง และเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด ภายใต้คำขวัญ “ฉลาดใช้ยาและสมุนไพรสมเหตุผล ยุค 4.0...ปรึกษาเภสัชกร”
26 มิ.ย. 61 18,797 ครั้ง อารมณ์และความรู้สึกอยู่เหนือเหตุผลและการควบคุม ความหลงใหลและอารมณ์ใคร่ เป็นสาเหตุที่ทำให้ต้องมานั่งเครียดในตอนนี้ เพียงเพราะคำพูดเดียว ...... “ขอสดได้ไหม”
25 มิ.ย. 61 4,766 ครั้ง นายกสภาเภสัชกรรมย้ำ ฉลาดใช้ยา-สมุนไพร สมเหตุผลยึดหลัก 5 ถูก คือ ถูกคน ถูกโรค ถูกขนาด ถูกวิธี และ ถูกเวลา
22 มิ.ย. 61 7,498 ครั้ง โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี จัดตั้ง “วาร์ฟารินคลินิก” เพื่อดูแลผู้ป่วยครบวงจร มุ่งให้ปลอดภัยจากการใช้ยาวาร์ฟารินอย่างครอบคลุม ลดภาวะแทรกซ้อนและอาการไม่พึงประสงค์จากยา ที่อาจทำให้อันตรายถึงชีวิต
13 มิ.ย. 61 68,875 ครั้ง การใช้ยา ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง ไม่ปล่อยให้ตนเองเป็นหนูทดลองยา ใช้ยาตามโฆษณาเกินความจริง จนอาจก่อให้เกิดโรคอื่นๆ ตามมาอีก ซึ่งต้องอาศัยการเรียนรู้ถึงหลักการใช้ยาให้เข้าใจ จนสามารถปฏิบัติได้จึงจะทำให้ใช้ยาแล้วโรคหาย และปลอดภัยด้วย
30 พ.ค. 61 6,566 ครั้ง ปัญหาการใช้ยาไม่สมเหตุผลเป็นปัญหาสำคัญระดับโลกมาเป็นเวลาช้านาน มีรายงานพบว่าน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาตามมาตรฐานการรักษา และมากกว่าครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยไม่สามารถใช้ยาที่ได้รับมาจากผู้สั่งใช้ยา จนส่งผลให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์หรือปัญหาเชื้อดื้อยารวมทั้งการสูญเสียเงินทองเกินจำเป็น
18 พ.ค. 61 6,325 ครั้ง กรมสุขภาพจิต ย้ำชัด “ยาลดความอ้วน” ทำคนป่วยซึมเศร้า เหตุสารสื่อประสาทเสียสมดุล นำสู่การทำร้าย-ฆ่าตัวตาย เผยผลสำรวจพบโจ๋ไทย ฮิต กินยาลดอ้วนกว่า 7.9 แสนคน หวั่นอนาคตป่วยซึมเศร้าพุ่ง
17 พ.ค. 61 1,638 ครั้ง อาจารย์ประจำภาควิชาเภสัชกรรม มหิดล แนะ ควรใช้ยาเพียงเพื่อเป็นตัวช่วยกระบวนการฟื้นฟูตัวเองของร่างกายเท่านั้น ฝากถึงประชาชนดูแลหัวใจและปอดให้แข็งแรง
11 พ.ค. 61 2,007 ครั้ง ผู้ที่จะเดินทางไปท่องเที่ยว ควรจะเตรียมตัวที่จะต่อสู้กับโรคภัยไข้เจ็บ โดยเฉพาะถ้าไปในถิ่นที่ไม่มีหมอหรือหาหมอยาก การเตรียมตัวอย่างหนึ่งก็คือ หายาติดไม้ติดมือไปบ้าง
04 พ.ค. 61 5,168 ครั้ง เตือนผู้สูงอายุกินหลายเม็ด ระวังสำลัก กล้ามเนื้อการกลืนหย่อนยานทำให้กลืนยาก อันตรายถึงตายได้ อนาคตรูปแบบยาจะเปลี่ยนไปเพื่อผู้สูงอายุเฉพาะ
02 พ.ค. 61 47,721 ครั้ง ในคนปกติ เมื่อประสบกับความผิดหวัง, การสูญเสียอันเป็นสิ่งที่รัก, ความเจ็บป่วย หรือความล้มเหลว ย่อมรู้สึกเศร้าใจ และไม่ช้าก็ค่อย ๆ ดีขึ้น จนเป็นปกติ มีคนบางคนเมื่อประสบกับสิ่งต่าง ๆ ดังกล่าวมานี้ จะมีอาการเศร้าใจ, รู้สึกว่าตนเองไร้คุณค่า, รู้สึกว่าชีวิตชั่งโหดร้ายอยู่เช่นนั้นติดต่อกันเป็นเวลานาน จนอาจนำไปสู่การฆ่าตัวตายในที่สุด คนที่มีอาการเช่นนี้ เรียกว่า เป็นโรคซึมเศร้า
30 เม.ย. 61 4,484 ครั้ง การเน้นย้ำในการกินยาของผู้สูงอายุ มีหลายวิธีที่จะทำให้ผู้สูงอายุกินยาได้ถูกต้องและสะดวกมากขึ้น เนื่องจากการมองเห็นและสมรรถภาพทางร่างกายในด้านต่างๆ เริ่มถดถอยไปตามอายุ วันนี้มีคำแนะนำในการให้ยาในผู้สูงอายุมาฝากกัน