04 ต.ค. 66 1,379 ครั้ง เวลา...คือสิ่งที่เงินก็ซื้อไม่ได้ แต่คุณรู้หรือไม่ ⁉ ว่าเราสามารถนำทักษะ ความสามารถที่มี มาแลกเปลี่ยนเป็นเวลาได้ ด้วยธนาคารเวลา นวัตกรรมที่เงินก็ซื้อไม่ได้
27 ก.ย. 66 2,228 ครั้ง สสส. และภาคีเครือข่ายสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน สู่สังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ
20 เม.ย. 66 3,447 ครั้ง ในความเหลื่อมล้ำของสังคม ไม่ใช่ทุกคนที่จะมีเงินออมในวัยเกษียณ สสส. ขอนำเสนอนวัตกรรมทางสังคม "ธนาคารเวลา" ออมความดี เบิกความสุข สร้างสังคมคุณภาพให้ทุกกลุ่มวัย
24 มี.ค. 66 18,563 ครั้ง สสส. สานพลัง ศวพช. - ม.สยาม - เขตภาษีเจริญ ลงพื้นที่ชุมชนพูนบำเพ็ญ เปิดป้าย “ธนาคารเวลาสำหรับทุกกลุ่มวัยภาษีเจริญ” ต้นแบบนวัตกรรมรองรับสังคมสูงวัย ชวนสถาบันการศึกษาเข้าร่วม ขับเคลื่อนนโยบายระดับประเทศ
20 มี.ค. 66 21,164 ครั้ง ออมเงิน อย่าลืม!! ออมเวลา สสส. สานพลังภาคีเครือข่าย ลุย จ.เชียงใหม่ เปิดธนาคารเวลากลาง ขยาย 15 เครือข่าย ต้นแบบนวัตกรรมรองรับสังคมสูงวัย แลกเวลาข้ามจังหวัด ชวนทุกเพศ-ทุกวัยสมัครสมาชิก สร้างสังคมไม่ทอดทิ้งกัน
29 ก.ย. 65 1,522 ครั้ง แนวคิดธนาคารเวลาช่วยสร้างสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดี 8 ข้อ 1.สังคมเกิดการรู้จักกัน 2.สามัคคีกัน 3.เกิดการเรียนรู้ในชุมชน 4.มีกิจกรรมร่วมกัน 5.เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน 6.ใส่ใจดูแลกัน 7.ช่วยจัดการปัญหาสังคม 8.พึ่งพากันในยามวิกฤต หากมองวิถีชีวิตคนไทยส่วนใหญ่มีจิตสาธารณะ อยู่กันแบบเครือญาติ จึงเชื่อว่าจะสามารถนำมาประยุกต์ให้เข้ากับพื้นที่และสถานการณ์ได้ เช่น การตั้งระบบจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ การทำชุมชนช่วยเรื่องโควิด ตั้งชมรมอนุรักษ์ประเพณี เพื่อให้เกิดสังคมสูงวัยที่มีสุขภาวะดี
02 ก.ค. 65 1,342 ครั้ง สสส. จับมือ ม.สยาม - ภาคีเครือข่าย จัดมหกรรมไฮบริด ถอดบทเรียน “ธนาคารเวลา” ดัน นโยบายสาธารณะ ชูต้นแบบพื้นที่เขตภาษีเจริญ ออมเวลาแทนเงิน สร้างหลักสูตรเรียนรู้สังคมสูงวัย ทำความเข้าใจเด็ก-เยาวชน-นักศึกษา
02 ต.ค. 62 4,956 ครั้ง ประเทศไทยกำลังจะเป็นสังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2564 เนื่องจากจะมีประชากรผู้สูงอายุร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด ส่งผลถึงการเพิ่มภาระของรัฐ สังคม ชุมชนและครอบครัวในการดูแลรักษาสุขภาพ ค่าใช้จ่ายในการยังชีพ สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย และมีคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ รัฐบาลโดยกรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จึงได้นำแนวคิดและรูปแบบ "ธนาคารเวลา" (Time Bank) มาประยุกต์ให้เข้ากับบริบทและวัฒนธรรมสังคมไทย โดยเรามีทุนทางสังคมและวัฒนธรรมที่เข้มแข็งในเรื่องความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การดูแลซึ่งกันและกัน อีกทั้งยังมีจิตอาสาที่เป็นอาสาสมัครอยู่เป็นจำนวนมากทั่วประเทศ
28 พ.ค. 62 4,606 ครั้ง ความคืบหน้าโครงการธนาคารเวลาสำหรับการดูแลผู้สูงอายุของประเทศไทย "ออมเวลา ปันสุข"
17 เม.ย. 62 3,989 ครั้ง โครงการ "ออมเวลา จิตอาสาใส่ใจพัฒนาสังคม" ถือเป็นโครงการที่ต่อยอดจาก "โครงการธนาคารเวลา"
20 ธ.ค. 61 7,605 ครั้ง จะดีหรือไม่ถ้ามีธนาคารสักแห่งเปิดรับฝาก 'เวลา' และเราก็สามารถเบิกถอนได้เมื่อต้องการ
25 ต.ค. 61 3,139 ครั้ง “พม.” เตรียมถอดบทเรียน “ธนาคารเวลา” ธ.ค.นี้ ผ่านพื้นที่นำร่อง 42 แห่ง หวังให้เกิดเป็นรูปธรรม–คู่มือทางการ พร้อมเคาะพื้นที่นำร่องใน กทม. 11 แห่ง
17 ต.ค. 61 5,065 ครั้ง คงจะดีไม่น้อยหากเมื่ออายุมากขึ้นยังมีคนที่คอยดูแล โดยเฉพาะคนที่ไม่มีบุตรหรือทายาท กระทั่งผู้ที่ครองตัวโสดอยู่ตามลำพัง ดังนั้น “ธนาคารเวลา” ที่มาพร้อมกับสโลแกน “ออมเวลา ปันสุข” ที่จัดขึ้นโดยกองส่งเสริมสวัสดิการและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุ กรมกิจการผู้สูงอายุ ภายใต้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จึงเกิดขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการรับสังคมผู้สูงวัย เพื่อให้คนวัยเกษียณมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสุขเมื่อเข้าสู่วัยชรา