16 ส.ค. 62 3,389 ครั้ง สจ.สระแก้ว ขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพจังหวัดสระแก้ว เตรียมแผนระยะ 3 ปี พร้อมรับสังคมผู้สูงอายุ
11 ก.ค. 62 3,426 ครั้ง พบเห็นได้บ่อยๆ สำหรับผู้สูงอายุที่เจ็บป่วย กระทั่งทำให้สูญเสียอวัยวะ เช่น ผู้ที่ป่วยเป็นโรคเรื้อนและทำให้ต้องสูญเสียมือไป จากภาวะนิ้วกุดด้น หงิกงอใช้การไม่ได้ จากอาการชาไร้ความรู้สึก อันเนื่องจากเส้นประสาทที่เกี่ยวข้องกับระบบกล้ามเนื้อได้รับความเสียหาย หรือแม้แต่คนสูงวัยที่ป่วยโรคร้ายแรงอย่างโรคมะเร็ง ที่ทำให้ท้อแท้สิ้นหวังในชีวิต ซึ่งพบได้ทั้งคนทั่วไปและคนสูงวัย พญ.ปริยสุทธิ์ อินทสุวรรณ คุณหมอหัวใจเพื่อเพื่อนมนุษย์ (จิตแพทย์) จาก รพ.สิรินธร มีข้อมูลมาแนะนำเกี่ยวกับวิธีเยียวยารักษาจิตใจของผู้ป่วยกลุ่มนี้ไว้น่าสนใจ
28 มิ.ย. 62 3,497 ครั้ง เวทีวิชาการผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย (stakeholder forum) เพื่อข้อเสนอเชิงนโยบายประกอบการจัดทำแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 3 ประเด็นมาตรการทางกฎหมายทางกฎหมายเพื่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางการสำหรับผู้สูงอายุ
11 มิ.ย. 62 3,632 ครั้ง ขอเชิญเข้าร่วมอบรม ในหัวข้อเรื่อง "การดูแลสุขภาพ 4 อ. สำหรับผู้สูงอายุ" โดยวิทยากร รศ.นพ.ปัญญา ไข่มุก
09 เม.ย. 62 2,372 ครั้ง แม้จะมีเวลาเดี่ยวไมโครโฟนกันเพียงคนละ 10 กว่านาที ในเวทีเสวนาสาธารณะ "สังคมสูงวัยไทย- ญี่ปุ่น : สูงวัยอย่างมีพลังในโลกยุคดิจิทัล" (Digital and Active Ageing in Japan and Thailand) ที่จัดโดย เจแปนฟาวน์เดชั่น กรุงเทพฯ ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ณ ห้องประชุม 201 สสส. ท่ามกลางผู้สูงวัยที่เดินทางมาร่วมรับฟังจนเต็มทุกที่นั่ง
09 เม.ย. 62 4,750 ครั้ง โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลวังใหม่ อ.นายายอาม จ.จันทบุรี ที่ได้ก่อตั้งมานานกว่า 5 ปี สามารถพัฒนาหลักสูตรเป็นของตัวเอง และสร้างผู้สูงวัยให้มีความเข้มแข็งเป็นแกนหลักให้ชาวชุมชน
22 มี.ค. 62 2,833 ครั้ง หากใครเคยได้ยินข่าวของคุณยาย มาซาโกะ วากามิยะ ชาวญี่ปุ่น วัย 84 ปี ที่ลุกขึ้นมาเป็นโปรแกรมเมอร์และนักพัฒนาแอพลิเคชันเกมชื่อ Hinadan เกมที่เธอได้แรงบันดาลใจ จากการที่พบว่าไม่มีเกมดีๆ สำหรับผู้สูงอายุ จึงคิดพัฒนาขึ้นเองเมื่อตอนที่อายุเธอก้าวพ้น เลข 80 มาหมาด ๆ ว่ากันว่าแอพพลิเคชัน ของเธอมียอดดาวน์โหลดไปแล้วเกิน 5 หมื่นครั้ง
12 มี.ค. 62 3,890 ครั้ง จัดงานเสวนาสาธารณะ หัวข้อ สังคมสูงวัยไทย-ญี่ปุ่น : สูงวัยอย่างมีพลังในโลกยุคดิจิทัล
08 มี.ค. 62 5,218 ครั้ง เพราะชีวิตคนในเมืองมีความโดดเดี่ยวสูง ต่างคนต่างอยู่ ซึ่งอาจเป็นต้นเหตุปัญหาสุขภาพใจมากขึ้นต่อเนื่อง โดยเฉพาะผู้สูงอายุ ที่มีผลวิจัยพบว่า ผู้สูงวัย ที่อาศัยอยู่ในเมืองมีโอกาสเป็นโรคซึมเศร้าสูงกว่าผู้สูงวัยที่อยู่ต่างจังหวัดถึง 60%