08 มิ.ย. 65 1,445 ครั้ง กทม. หนุนนโยบาย “ที่อยู่อาศัยคนละครึ่ง” สสส. ป้องกัน “คนไร้บ้านหน้าใหม่” พร้อมผนึก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - กรมพัฒนาสังคมสวัสดิการ - ภาคีเครือข่าย ช่วยชีวิตประชากรกลุ่มเปราะบางตั้งหลักชีวิต สร้างอาชีพ เตรียมผลักดันแผนฟื้นโครงการ “บ้านอิ่มใจ” เพื่อสุขภาวะที่ดี
26 ต.ค. 64 2,954 ครั้ง สสส. - กลุ่มมิตรผล มอบถุงยังชีพ “มิตรปันสุข” 7,300 ถุง ช่วยสร้างอาชีพ - ความมั่นคงทางอาหาร สร้างสุขภาวะให้คนไร้บ้าน – กลุ่มเปราะบาง แก้พิษโควิด-19 หลังพบอาจมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากผลกระทบตกงาน - ขาดรายได้ – เข้าไม่ถึงสิทธิสวัสดิการ ณ ศูนย์พักคนไร้บ้าน “บ้านพูนสุข” จ.ปทุมธานี
31 พ.ค. 64 2,947 ครั้ง ห่วงคนไร้บ้านไร้ตัวตน ไม่มีบัตรประชาชน กว่า 1,000 คน เข้าไม่ถึงระบบบริการสุขภาพ เสี่ยง ไม่ได้ฉีดวัคซีนโควิด-19 วอน อย่าตกสำรวจฉีดวัคซีนคนไร้บ้าน คาด จบโควิด-19 คนไร้บ้านยอดพุ่งแน่ สสส.-เครือข่ายคนไร้บ้าน หนุน “ครัวกลาง-แจกของจำเป็น” บรรเทาทุกข์ สร้างความมั่นคงทางอาหาร เพื่อสุขภาวะที่ดีของคนไร้บ้าน ฝ่าวิกฤตโควิด-19 ไปด้วยกัน
04 มี.ค. 64 2,023 ครั้ง พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือโครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน ระหว่าง 12 กระทรวง 1 หน่วยงาน ประกอบด้วยสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทยกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงศึกษาธิการกระทรวงกลาโหม กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงแรงงาน กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงสาธารณสุข และกรุงเทพมหานคร โดยมีนายจุติ ไกรฤกษ์รมว.พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กล่าวรายงานถึงการจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) และคณะผู้บริหาร
31 ส.ค. 63 5,973 ครั้ง แม้ปัจจุบันระบบหลักประกันสุขภาพของไทยซึ่งมีอยู่ 3 ระบบ คือ ประกันสังคม สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ และหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า หรือบัตรทอง จะครอบคลุมประชาชนแทบทุกคนในประเทศแล้ว แต่ด้วยเงื่อนไขตั้งต้นที่ต้องมีสถานะเป็นคนไทย ทำให้ยังมีคนจำนวนหนึ่งที่เข้าไม่ถึงสิทธิเหล่านี้ โดยเฉพาะคนไทยที่มีปัญหาสถานะทางทะเบียน ซึ่งเกิดจากหลายปัจจัย เช่น พ่อแม่ไม่ไปแจ้งเกิดตั้งแต่ยังเด็ก หรือทำบัตรประชาชนหายแล้วไม่ได้ไปทำบัตรใหม่ เป็นต้น
16 เม.ย. 63 3,921 ครั้ง ขับเคลื่อนการช่วยเหลือคนไร้ที่พึ่ง คนไร้บ้าน โดย ใช้ 3 มาตรการ ได้แก่ การป้องกันการแพร่ระบาด รองรับเตรียมหาที่พักชั่วคราว และ การเยียวยาผู้ที่ได้รับผล กระทบจากโควิด-19
26 ธ.ค. 62 5,365 ครั้ง คนไร้บ้านเปรียบเสมือนยอดภูเขาน้ำแข็งที่เห็นได้ชัดเจน แต่เป็นเพียงส่วนเล็กๆ ของปัญหาที่ซุกซ่อนจมลึกอยู่ใต้มหาสมุทร เช่น ความไม่มั่นคงด้านที่อยู่อาศัย รายได้ การทำงาน ความเสี่ยงด้านสุขภาพ ความรุนแรงความเหลื่อมล้ำ ฯลฯ
02 ต.ค. 62 4,621 ครั้ง นายไมตรี อินทุสุต ประธานบอร์ด พอช. เป็นประธานพิธียกเสาเอกศูนย์ฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพคนไร้บ้านปทุมธานี ถือเป็นแห่งที่ 3 หลังจากเปิดที่เชียงใหม่และขอนแก่นแล้ว คาดกลางปีหน้าสามารถเปิดศูนย์ฯ ได้ รองรับคนไร้บ้านได้ 100 คน เพื่อเป็นแหล่งพักพิง ฝึกอาชีพ ฯลฯ เป้าหมายเพื่อให้คนไร้บ้านมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถใช้ชีวิตร่วมกับคนอื่นๆ ในสังคมหรือกลับไปอยู่กับครอบครัวได้ ขณะที่ข้อมูลการสำรวจพบคนไร้บ้านทั่วประเทศ 2,669 คน
26 ก.ค. 62 7,907 ครั้ง ประชากรกลุ่มเฉพาะคือกลุ่มคนที่ไร้ตัวตนในสังคม ถูกมองข้าม ละเลย เข้าไม่ถึงทรัพยากร ถูกผลักภาระให้รับผิดชอบชีวิตและชะตากรรมด้วยตนเอง จึงมีความเสี่ยงสูงโดยเฉพาะความเสี่ยงด้านสุขภาพ ขาดอำนาจในการต่อรองทำให้ต้องยอมจำนนให้กับความไม่เที่ยงธรรม
19 ก.ค. 62 3,640 ครั้ง สสส.และภาคีเครือข่ายจัด Talk Show ที่ห้อง Grand Diamond อิมแพ็ค ฟอรั่ม 2 เมืองทองธานี The Voiceless Talk ฟังเสียงจากผู้ไร้เสียง
03 ก.ค. 62 3,637 ครั้ง ถือเป็นความท้าทายของการทำงานให้บรรลุความเป็นธรรมทางสุขภาพ คือลดความเหลื่อมล้ำ ผ่านปัจจัยทางสังคม สร้างการเปลี่ยนแปลงทั้งในระดับวิธีคิดและเชิงโครงสร้าง
13 มิ.ย. 62 9,441 ครั้ง “บางคนอาจมองว่าคนไร้บ้านน่ากลัว ด้วยการแต่งกายสกปรก ผมรกรุงรัง แต่จริง ๆ ถ้าลองมาสัมผัส จะรู้เลยว่าพวกเราไม่ได้เป็นอย่างที่คิด” คำบอกเล่าของนายสุชิน เอี่ยมอินทร์ นายกสมาคมคนไร้บ้าน สะท้อนถึงความมุ่งมั่นที่อยากให้สังคมเปิดใจ เข้าใจบริบทของคนไร้บ้านที่หลายคนมองเพียงลักษณะทางกายภาพภายนอกและตัดสินพวกเขาว่า “น่ากลัว”
12 มิ.ย. 62 5,823 ครั้ง สสส. โชว์ผลงาน 1 ทศวรรษความเป็นธรรมทางสุขภาพ สร้างสุขภาวะประชากรกลุ่มเฉพาะ ยกระดับคุณภาพชีวิต 8 กลุ่ม “คนพิการ-ไร้บ้าน-ผู้สูงอายุ-ผู้หญิง-ผู้ต้องขัง-แรงงาน-ผู้มีปัญหาสถานะบุคคล/ประชากรข้ามชาติ-มุสลิม” รวมพลังคนทำงานด้านสังคมกว่า 2 พันคน ปลุกคนไทยใช้หัวใจฟังเสียงที่ไม่ได้ยิน
29 พ.ค. 62 3,477 ครั้ง "ไร้บ้าน ไร้ค่า ไร้ที่ไป ชีวิตอยู่ไปวันๆ เป็นภัยต่อสังคม" คือความจริง แต่ไม่ใช่ทั้งหมด การเหมารวมคนไม่มีบ้านว่าเลวร้ายน่ากลัว อาจจะไม่ยุติธรรมสำหรับคนกลุ่มนี้ เพราะการออกมาอยู่ใต้สะพานบ้าง ข้างถนนบ้าง ตามสวนสาธารณะ ป้ายรถเมล์ สถานีรถไฟบ้าง หลายคนมีเหตุผลแตกต่างกันไป แต่ที่แน่ๆ พวกเขากำลังประสบปัญหา และต้องการความช่วยเหลือ
27 พ.ค. 62 8,317 ครั้ง หน้าบันไดทางลงรถไฟฟ้าใต้ดินสถานีหัวลำโพงมีไฟฟ้าที่ส่องสว่างตลอดทั้งคืน ตั้งแต่สองทุ่มเป็นต้นไป เหล่าคนไร้บ้านเลือกที่จะใช้พื้นที่ตรงนี้เป็นห้องนอนกลางแจ้ง แม้จะมีเสียงรถราที่วิ่งตลอดคืนก็ตาม พื้นที่ตรงนี้ปลอดภัยเมื่อเทียบกับพื้นที่โดยรอบหัวลำโพง แม้กระทั่งในพื้นที่สถานีรถไฟหัวลำโพง มีหลังคาหลบแดดฝน แต่เมื่อรถไฟเที่ยวสุดท้ายเคลื่อนตัวออกไปประมาณ 4 ทุ่มเศษ เสียงนกหวีดจะส่งสัญญาณให้ทุกคนออกจากพื้นที่ เจ้าหน้าที่จะมาล็อกประตู รอเวลา 04.30 น. ประตูสถานีหัวลำโพงจะเปิดต้อนรับผู้โดยสารอีกครั้ง