30 ก.ย. 65 1,842 ครั้ง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ร่วมรณรงค์เนื่องในวันหัวใจโลก วันที่ 29 ก.ย. 2565 ตามคำขวัญ สหพันธ์หัวใจโลก (The World Heart Federation) คือ USE HEART FOR EVERY HEART: ใช้ใจเพื่อรักษาหัวใจทุกดวง ให้ห่างไกลจากโรคหัวใจและหลอดเลือด การเสียชีวิตทั่วโลกมีสาเหตุสำคัญจากโรคหัวใจและหลอดเลือดมากถึงร้อยละ 32 หรือประมาณ 17.9 ล้านคน สำหรับประเทศไทยพบผู้เสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือดมากถึงปีละ 7 หมื่นราย
30 ก.ย. 65 1,071 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะ 4 เทคนิคเลือกกินอาหารบำรุงหัวใจ ควบคู่กับการออกกำลังกาย เป็นประจำต่อเนื่องให้เป็นนิสัย ลดเสี่ยงโรคหัวใจและป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
19 ต.ค. 64 2,561 ครั้ง กรมการแพทย์ โดยสถาบันโรคทรวงอก แนะนำผู้ป่วยหัวใจกำเริบเฉียบพลัน (Heart attack) หากได้รับการรักษาล่าช้า อาจทำให้เสียชีวิตได้
29 ก.ย. 64 2,584 ครั้ง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ร่วมรณรงค์เนื่องในวันหัวใจโลก วันที่ 29 ก.ย. 2564 ตามคำขวัญ สหพันธ์หัวใจโลก (The World Heart Federation) คือ USE HEART TO CONNECT: ใช้ใจเชื่อมต่อ แนะผู้ป่วยโรคหัวใจใช้เทคโนโลยีในการดูแลรักษา ลดปัจจัยเสี่ยง พบเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของโลกและประเทศไทยซึ่งมีผู้เสียชีวิตด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด มากถึง 6 หมื่นรายเฉลี่ยชั่วโมงละ 7 ราย แนะผู้ป่วยป้องกันตนเองและเร่งเข้ารับการฉีดวัคซีนโควิด 19
23 ส.ค. 64 1,668 ครั้ง กรมการแพทย์ โดยสถาบันโรคทรวงอก แนะนำผู้ป่วยหัวใจกำเริบเฉียบพลัน (Heart attack) หากได้รับการรักษาล่าช้า อาจทำให้เสียชีวิตได้
15 มี.ค. 64 1,689 ครั้ง กรมการแพทย์ โดยสถาบันโรคทรวงอก แนะผู้ป่วยโรคหัวใจฟื้นฟูร่างกายให้แข็งแรงด้วยการกายภาพบำบัด เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยโรคหัวใจสามารถกลับมาปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ใกล้เคียงปกติ ป้องกันการเกิดเป็นซ้ำของโรคหัวใจ
12 ม.ค. 64 1,703 ครั้ง บุหรี่เป็นต้นเหตุของโรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดอื่นๆ รวมถึงโรคเส้นเลือดสมอง ซึ่งรวมกันแล้วเป็นสาเหตุการเสียชีวิตระดับต้นๆ ของโลก บุหรีส่งผลให้หัวใจทำงานหนักขึ้น ส่งผลให้เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจตีบ ทำให้หัวใจเต้นเร็วและความดันโลหิตเพิ่มขึ้น เนื่องจากในควันบุหรี่มีสารพิษหลายชนิดที่เป็นอันตรายต่อหลอดเลือดและหัวใจ ได้แก่ นิโคติน คาร์บอนไดออกไซด์ ทาร์ ไนโตรเจนไดออกไซด์ และไฮโดรเจนไซยาไนต์ ผู้สูบบุหรี่แต่ละรายจะมีโอกาสเสี่ยงในการเกิดโรคจากบุหรี่แตกต่างกัน ซึ่งขึ้นกับระยะเวลาที่สูบ ปริมาณที่สูบ ลักษณะพันธุกรรม การมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ร่วมด้วย
28 ก.ย. 63 16,544 ครั้ง “โอ๊ย หัวใจอ่อนแอนัก แก้ไขกันซักนิด มาลองกันมะ มาฟิตหัวใจกันหน่อย ยิ่งเอ็กเซอร์ไซส์บ่อย ๆ ยิ่งเติมคำว่ามัดใจ” รู้หรือไม่ว่าในแต่ละปีมีผู้เสียชีวิตจากโรคหัวใจมากถึง 9.2 ล้านคน เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของประเทศไทย โรคหัวใจเป็นหนึ่งในกลุ่มโรค NCDs หรือกลุ่มโรคติดต่อไม่เรื้อรัง และเพื่อให้โลกตระหนักถึงภัยอันตรายจากโรคหัวใจจึงกำหนดให้ทุกวันที่ 29 กันยายน ของทุกปีเป็น “วันหัวใจโลก”
24 มิ.ย. 63 1,474 ครั้ง ปัจจุบันพบว่าภาวะหัวใจล้มเหลวไม่ได้เกิดแค่ในเฉพาะผู้สูงอายุเท่านั้น แต่ในกลุ่มคนที่อายุยังน้อย ร่างกายแข็งแรง ก็สามารถเกิดภาวะนี้ได้เช่นกัน ซึ่งภาวะหัวใจล้มเหลวเป็นภาวะความผิดปกติของการทำงานของหัวใจที่ไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื้อ และอวัยวะต่างๆของร่ายกายได้อย่างเพียงพอรวมถึงไม่สามารถรับเลือดกลับเข้าสู่หัวใจได้ตามปกติ อาการของผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว ได้แก่ หอบเหนื่อย ในขณะที่ออกแรงหรือหายใจไม่สะดวกขณะที่นอนราบรู้สึกอ่อนเพลียทำให้ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันและการออกกำลังกายลดลง มีอาการบวมน้ำ บวมกดบุ๋มที่เท้าและขา น้ำหนักตัวเพิ่ม สามารถวินิจฉัยได้โดยซักประวัติตรวจร่างกาย ประเมินภาวะสมดุลของน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย ร่วมกับการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น ตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ เป็นต้น
17 ก.พ. 63 2,757 ครั้ง เตือนคอเลสเตอรอลในหลอดเลือด ตัวการสำคัญทำให้เกิดโรคหัวใจ แนะป้องกันและลดคอเลสเตอรอลในหลอดเลือด ด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันและคอเลสเตอรอลสูง เพิ่มอาหารที่มีเส้นใยให้มากขึ้นออกกำลังกายสม่ำเสมอ ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมงดดื่มชา กาแฟ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิดและงดสูบบุหรี่
12 ธ.ค. 62 1,983 ครั้ง หัวใจเป็นกำลังหลัก ในการทำงานของอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย จึงควรดูแลหัวใจให้แข็งแรงโดยควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่ก่อให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ
26 ก.ย. 62 2,776 ครั้ง กรมควบคุมโรค รณรงค์วันหัวใจโลก ปี 2562 “Be A Heart Hero…Make A Heart Promise จงกล้าท้าทาย พันธสัญญาแห่งใจ” เผยโรคหัวใจขาดเลือดเป็นสาเหตุการตายอันดับ 1 ของโลก
23 ก.ย. 62 2,913 ครั้ง เพื่อให้โลกตระหนักถึงภัยอันตรายจากโรคหัวใจ และอัมพาต เรามาร่วมรณรงค์ เนื่องในวันหัวใจโลก 29 กันยายน 2562 กันเถอะ
19 ก.ย. 62 1,850 ครั้ง ปัจจุบันประเทศไทยมีอัตราการคลอดประมาณ 7 แสนทารกแรกเกิดต่อปี ซึ่งในจำนวนดังกล่าว ทารกแรกคลอด 1% หรือประมาณ 7,000 รายต่อปี จะมีความผิดปกติที่โครงสร้างหัวใจและหลอดเลือด หรือโรคหัวใจแต่กำเนิด โดย 1 ใน 4 ของกลุ่มที่มีโรคหัวใจแต่กำเนิดจะต้องผ่าตัดหรือรักษาด้วยการสวนหัวใจ
19 ก.ย. 62 2,412 ครั้ง การสร้างศูนย์โรคหัวใจจึงมีความจำเป็นมากในการช่วยชีวิต ยื้อชีวิต ของคนไว้ ซึ่งโรคหัวใจถือเป็นภัยเงียบที่รุนแรงสูงถ้าไม่รักษาให้ทันภายใน 5 - 10 นาที คนไข้อาจจะถึงแก่ชีวิตได้
02 เม.ย. 62 5,607 ครั้ง สถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์ ชี้อัตราการตายและป่วยด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจยังคงมีความรุนแรงและแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นปัจจัยเสี่ยงก่อให้เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด