26 มิ.ย. 67 891 ครั้ง โรคฉี่หนู เป็นโรคที่พบระบาดได้ในช่วงฤดูฝน น้ำฝนจะชะล้างเอาเชื้อโรคไหลมารวมกันอยู่ในบริเวณที่น้ำท่วมขัง เชื้อก่อโรคฉี่หนูเป็นแบคทีเรียที่อยู่ในปัสสาวะของสัตว์ที่เป็นพาหะ เช่น หนู สุกร โค กระบือ สุนัข เป็นต้น
26 พ.ย. 65 1,719 ครั้ง กรมควบคุมโรค เตือนประชาชนที่อยู่ในพื้นที่น้ำท่วมขังและเกษตรกรที่ต้องลุยน้ำย่ำโคลนหรือแช่น้ำนาน ๆ อาจเสี่ยงต่อการติดเชื้อไข้ฉี่หนูที่มาพร้อมกับน้ำท่วมขัง
26 ต.ค. 65 1,387 ครั้ง ช่วงหน้าฝน หลายพื้นที่เกิดอุทกภัยและมีน้ำท่วมขังเป็นเวลานาน จนกระทั่งน้ำลดลง อาจทำให้มีการแพร่ระบาดของ “โรคฉี่หนู” หรือ “โรคเลปโตสไปโรสิส” เนื่องจากเชื้อโรคจะปนเปื้อนมากับน้ำ สคร.9 นครราชสีมา แนะหลีกเลี่ยงการเดินเท้าเปล่าลุยน้ำย่ำโคลนหรือแช่น้ำเป็นเวลานาน หากจำเป็นควรสวมรองเท้าบู๊ท หรือถุงพลาสติกสะอาดทุกครั้ง หรือถ้าไม่ได้สวมรองเท้าบู๊ท เมื่อลุยน้ำเสร็จต้องรีบล้างมือล้างเท้าด้วยสบู่และน้ำโดยเร็ว
12 ธ.ค. 62 1,483 ครั้ง โรคฉี่หนูมีสาเหตุมาจากหนู โดยเชื้อโรคซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรียจะอยู่ในฉี่ของหนู หรือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น วัว ควาย สุนัข แมว ซึ่งปนเปื้อนอยู่ตามแหล่งน้ำขังชื้นแฉะทั่วไป เชื้อโรคไข้ฉี่หนูสามารถเข้าสู่ร่างกายได้โดยการเข้าทางบาดแผลหรือเยื่อบุอ่อนๆ ของร่างกาย
30 ก.ย. 62 2,992 ครั้ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เปิดให้บริการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานองค์การอนามัยโลก (WHO) และผ่านการรับรองตามมาตรฐานสากล ISO 15189 ใช้ระยะเวลาในการตรวจยืนยันและรู้ผลภายใน 48 ชั่วโมง และมีชุดตรวจโรคเลปโตสไปโรสิสที่สามารถตรวจวินิจฉัยโรคขั้นต้นได้ รู้ผล 5-10 นาที เพื่อให้แพทย์สามารถรักษาผู้ป่วยได้ทันท่วงที
29 ส.ค. 61 5,674 ครั้ง โรคเลปโตสไปโรสิส (Leptospirosis) โรคฉี่หนู หรือไข้ฉี่หนู เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน สามารถติดโรคได้ในสัตว์หลายชนิด เช่น สุนัข หนู โค กระบือ สุกร แพะ แกะ เป็นต้น แต่พบมากใน “หนู” ซึ่งเป็นแหล่งรังโรคและเป็นแหล่งแพร่กระจายเชื้อที่สำคัญ
29 ส.ค. 61 1,720 ครั้ง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เตือนประชาชนในช่วงหน้าฝนปีนี้ระวังป่วยโรคไข้ฉี่หนู โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีน้ำท่วมขัง แนะหลีกเลี่ยงการเดินลุยน้ำย่ำโคลนในที่ชื้นแฉะหากจำเป็นควรสวมรองเท้าบู๊ทหรือถุงพลาสติกสะอาด ปีนี้พบผู้ป่วยอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้สูงถึงร้อยละ 84.3 และผู้เสียชีวิตเกือบทั้งหมดเป็นเกษตรกร
19 ธ.ค. 59 2,720 ครั้ง สาธารณสุขสุราษฎร์ธานี เตือนประชาชนระวังโรคฉี่หนูและตาแดงหลังน้ำลดจากอุทกภัย ควรสวมรองเท้าบูทขณะเดินลุยน้ำย่ำโคลน
11 ต.ค. 59 4,885 ครั้ง แนะเช็ดเท้าให้แห้งหากมีบาดแผลควรใช้แอลกอฮอล์เช็ดแล้วทาด้วยยาฆ่าเชื้อโรคฉี่หนู และควรกินอาหารที่ปรุงสุกทันที ป้องกันโรคที่มากับน้ำท่วม
04 ต.ค. 59 3,876 ครั้ง “รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ” ห่วงประชาชนเจ็บป่วยจากโรคที่มากับน้ำท่วมที่พบบ่อย 9 โรค เช่นโรคตาแดง โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง กำชับอสม.ให้ความรู้การป้องกันโรคในหมู่บ้านต่อเนื่อง ยึดหลักกินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ไม่ถ่ายอุจจาระ ไม่ทิ้งขยะลงน้ำ พร้อมแนะประชาชนอย่าใช้น้ำท่วมขังล้างหน้า เสี่ยงติดเชื้อเป็นโรคตาแดงได้
04 ต.ค. 59 4,591 ครั้ง ในช่วงนี้มีฝนตกต่อเนื่อง และตกหนักในบางแห่ง ส่งผลให้บางพื้นที่เกิดน้ำท่วมฉับพลัน คร.แนะนำการป้องกันโรคและภัยสุขภาพที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษในช่วงฝนตกน้ำท่วม เช่น โรคอุจจาระร่วง โรคไข้เลือดออก โรคฉี่หนู
08 ส.ค. 59 5,359 ครั้ง “กรมอนามัย” แนะนำให้ประชาชน ควรทำความสะอาดอาคารบ้านเรือนสม่ำเสมอ ให้เป็นเขตปลอดหนู และแมลงวัน
14 ก.ค. 59 4,598 ครั้ง สคร.12 สงขลา เตือนระวังโรคเล็ปโตสไปโรซิสหรือโรคฉี่หนู ช่วงฤดูฝน แนะ ปปช. เลี่ยงการเดินย่ำโคลนหรือพื้นที่มีน้ำขังด้วยเท้าเปล่า
10 มิ.ย. 59 6,200 ครั้ง กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ห่วงประชาชน เสี่ยงติดเชื้อโรคฉี่หนู รอบ 5 เดือนปีนี้ พบผู้ป่วยทั่วประเทศ 600 กว่าราย เสียชีวิต 14 ราย ให้อสม.ไทยและต่างด้าวให้ความรู้ประชาชนป้องกันยึดหลัก 3 ลด คือ ลดปริมาณหนู ลดการสัมผัสเชื้อโรค ย้ำเตือนผู้ที่นิยมดื่มเครื่องดื่มกระป๋อง แล้วเทน้ำใส่ปากโดยตรง ควรล้างฝาให้สะอาดก่อนดึงฝาเปิด
08 มิ.ย. 59 7,917 ครั้ง สำนักงานควบคุมโรคที่10 เตือนประชาชนระวังโรคฉี่หนูช่วงฤดูฝน พบผู้ป่วยแล้ว 130 ราย เสียชีวิตแล้ว 4
03 ก.ย. 58 6,966 ครั้ง “กรมควบคุมโรค”เผย “โรคฉี่หนู หรือ โรคเลปโตสไปโรซิส”ระบาด หลังฝนตกหนักจนน้ำท่วมขังในหลายพื้นที่ พบผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นอาชีพเกษตรกร แนะหลีกเลี่ยงการเดินลุยน้ำย่ำโคลนในที่ชื้นแฉะ หรือสวมถุงมือยางใส่รองเท้าบู๊ท ป้องกันการเกิดบาดแผล