29 มี.ค. 64 2,832 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะประชาชนคนไทย ลดกินเค็ม กินเกลือไม่เกิน 1 ช้อนชาต่อวัน เพื่อลดเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด พร้อมเตือนไม่ควรเลียนแบบพฤติกรรมการกินเกลือปริมาณมาก แบบในคลิปออนไลน์ เสี่ยงโรคไต หรืออาจอันตรายถึงชีวิตได้
05 พ.ย. 63 2,371 ครั้ง การบริโภคโซเดียมที่ล้นเกินของคนไทย จึงทำให้เร่งจัดทำแผนยุทธศาสตร์การลดการบริโภคเกลือและโซเดียมในประเทศไทย พ.ศ.2559-2568 ตั้งเป้าประชาชนบริโภคเกลือและโซเดียมลดลงร้อยละ 30 ภายในปี 2568 เพื่อลดโอกาสที่จะนำไปสู่การป่วยการเสียชีวิตและผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมจากการเพิ่มขึ้นของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือ NCDs
20 ก.ค. 63 5,926 ครั้ง ในปัจจุบันนี้โรคอ้วนและอ้วนลงพุงมีจำนวนเพิ่มมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งหนึ่งในสาเหตุของการเกิดนั้นมาจากการที่กินมากเกินไป (overeating) จากการศึกษาพบว่ารสชาติของอาหารเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้คนกินอาหารมากขึ้น โดยพบว่ารสเค็มเป็นรสที่ส่งผลต่อการกินมากที่สุด รสชาติเค็มเปรียบเหมือนยาเสพติดโดยเร่งการผลิตโดปามีนซึ่งเป็นสารเคมีในสมองส่งผลต่ออารมณ์ความพึงพอใจ ความสุข ทำให้เกิดความรู้สึกอยากอาหาร เมื่อติดรสชาติเค็มแล้วหากไม่ได้รสชาติเค็มก็จะรู้สึกว่าอาหารไม่อร่อย รู้สึกหงุดหงิด อารมณ์เสีย นอกจากนี้ผู้ที่ติดรสชาติเค็มเพียงแค่นึกถึงอาหารที่มีรสชาติเค็มก็สามารถทำให้เกิดความรู้หิวและอยากอาหารขึ้นมา จึงเป็นสาเหตุให้ผู้ที่ชอบกินเค็มอาจจะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำหนักเกินหรือโรคอ้วนได้ง่ายกว่าผู้ที่ไม่ชอบกินเค็มเนื่องมาจากพอความรู้สึกอยากอาหารมากขึ้น กินก็มากขึ้น โอกาสการได้รับพลังงานที่มาจากอาหารก็จะมากขึ้นตามไปด้วย
16 ส.ค. 62 15,873 ครั้ง ถึงแม้โซเดียมจะมีความสำคัญต่อร่างกาย แต่การบริโภคมากเกินไปกลับมีผลเสียต่อสุขภาพ การบริโภคโซเดียมสูงเป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงสำคัญของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง โรคไต และอัมพาต ซึ่งนับวันจะมีสถานการณ์ความรุนแรงมากขึ้น ทำให้เกิดความทุกข์ทรมาน และการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร
10 พ.ค. 62 3,315 ครั้ง แต่ละปีประเทศเรายังคงต้อง สูญเสียรายจ่ายทางสุขภาพกว่า 99,000 ล้านบาท ให้กับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)
29 เม.ย. 62 4,778 ครั้ง สสส.นำชมวิถีนาเกลือเมืองเพชรต้นแบบเกลือทั่วโลก นายทุนจากกรุงเทพฯ ซื้อนาเกลือทำรีสอร์ต
25 เม.ย. 62 4,486 ครั้ง ปัจจุบันคนไทยกินเค็มเกิน 2 เท่า (โซเดียมเฉลี่ยที่คนไทยกิน 4,352 มิลลิกรัม/วัน)
11 เม.ย. 62 35,722 ครั้ง ยิ่งอายุเพิ่มมากขึ้นการทำงานของประสาทรับรสก็ยิ่งเสื่อมลงไม่ต่างกับอวัยวะอื่น ๆ ในร่างกาย ซึ่งภาวะการสูญเสียการรับรู้รสจะพบได้มากในกลุ่มผู้สูงอายุ จึงอย่าได้แปลกใจหากอาหารสุดอร่อยที่คุณตาคุณยายในบ้านเคยทำให้เมื่อตอนเราเด็ก พอกลับมาทานตอนโตจะรู้สึกว่าปรุงหนักและมีรสชาติจัดไปทางรสเค็ม
26 มี.ค. 62 2,889 ครั้ง สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย ร่วมกับ กระทรวงสาธารณสุข, เครือข่ายลดบริโภคเค็ม, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.), มูลนิธิโรคไตแห่งประเทศไทย, องค์การเภสัชกรรม และสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักถึงการบริโภคลดเค็มของคนไทย จัดกิจกรรมวันไตโลก ปี 2562
20 มี.ค. 62 4,912 ครั้ง การสื่อสารที่อยากให้พิชิตใจถึงตรงกลุ่มเป้าหมาย บางครั้งก็อาจไม่ต้องคิดเติมไอเดียอะไรยุ่งยาก แต่กลายเป็นเรื่องธรรมดา สื่อสารออกมาให้เข้าใจง่ายๆ อาจด้วยภาพ และยิ่งถ้าทำให้เกิดความประทับใจและเป็นภาพจำ ก็สามารถนำคอนเซ็ปต์เหล่านี้ไปใช้ต่อยอดได้
11 มี.ค. 62 11,432 ครั้ง ซองขนมสีสันสดใส ตั้งเรียงรายบนชั้นวางของภายในร้านสะดวกซื้อ ล่อตาล่อใจทุกเพศทุกวัย ทั้งรสชาติที่แปลกใหม่และรสชาติที่คุ้นเคยให้เลือกหยิบลงตะกร้าได้อย่างง่ายดาย ด้วยเหตุผลสั้นๆ ที่ว่า ‘อร่อยดี’
27 ก.พ. 62 38,534 ครั้ง ในทางวิทยาศาสตร์ เกลือ คือสารประกอบทางเคมีที่เรียกว่า โซเดียมคลอไรด์ คำว่าเกลือและโซเดียม จึงมักใช้แทนกันและกันจนทำให้
27 ก.พ. 62 3,738 ครั้ง ปักธงนำไว้ก่อนล่วงหน้าถึง เป้าหมายสังคมสุขภาวะ ที่ไม่ใช่แค่การรักษา แต่ต้องกลับมาดักที่ต้นทาง...พฤติกรรม ปัจจัยเสี่ยง มาตรการทางภาษี และยุทธศาสตร์ SALTS