30 ส.ค. 65 743 ครั้ง แพทย์แนะโรคอีสุกอีใส เป็นโรคไข้ออกผื่น จะมีอาการไข้และผื่นตุ่มน้ำใสที่ผิวหนังทั่วร่างกาย มักพบที่ลำตัวและใบหน้ามากกว่า บริเวณแขนขา บางรายอาจมีอาการทางระบบทางเดินหายใจและระบบอื่นๆ ร่วมด้วย พบได้บ่อยในเด็ก บางครั้งอาจพบภาวะแทรกซ้อน ซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
26 ก.พ. 62 2,105 ครั้ง จากข้อมูลการเฝ้าระวังโรคในพื้นที่พบการระบาดของโรคไข้สุกใสในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ประกอบกับโรคนี้มักเกิดการระบาดในช่วงฤดูหนาวซึ่งโรคนี้สามารถติดต่อได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยและสามารถติดต่อกันได้ง่ายเหมือนไข้หวัดที่สำคัญคือกลุ่มเสี่ยงควรต้องหลีกเลี่ยงการคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่มีอาการเพราะอาจทำให้มีอาการแทรกซ้อนที่รุนแรงได้
29 ส.ค. 61 30,170 ครั้ง แพทย์ชี้ผู้ป่วยโรคอีสุกอีใส ต้องระวังโรคแทรกซ้อนอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ โดยเฉพาะเด็กเล็ก ผู้ใหญ่ หญิงตั้งครรภ์ และผู้มีภูมิต้านทานโรคต่ำที่ไม่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใส
07 ม.ค. 58 11,532 ครั้ง สคร.7 เตือนประชาชนเฝ้าระวังการระบาดของโรคอีสุกอีใสช่วงหน้าหนาว แนะกลุ่มที่ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ คือ เด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี และผู้ที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เนื่องจากมีภูมิต้านทานโรคต่ำ
19 ธ.ค. 57 20,921 ครั้ง โรคสุกใสเกิดจากเชื้อไวรัส ติดต่อโดยการหายใจเอาละอองเสมหะ น้ำมูก และน้ำลายของผู้ป่วยเข้าไปเช่นเดียวกับไข้หวัด การใช้ของใช้ส่วนตัวร่วมกับผู้ป่วย หรือการสัมผัสน้ำเหลืองจากตุ่มพองใสที่ผิวหนังของผู้ป่วย
02 ก.ค. 57 6,384 ครั้ง ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่าจากรายงานของสำนักระบาดวิทยา ตั้งแต่เดือนมกราคม – มิถุนายน 2557 เพียง 6 เดือน พบผู้ป่วยโรคสุกใสทั่วประเทศ 63,510 ราย เฉลี่ยวันละประมาณ 350 ราย เสียชีวิต 1 ราย เพิ่มขึ้นจากปี 2556 ถึง 3 เท่าตัว