08 มี.ค. 64 4,624 ครั้ง กลุ่มโรคไม่ติดต่อ (Non-communicable diseases : NCDs) ที่ประกอบด้วย โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และโรคปอดเรื้อรัง เป็นภัยร้ายที่คุกคามชีวิตคนทั่วโลก องค์การสหประชาชาติเคยประกาศในที่ประชุมสมัชชาใหญ่เมื่อ 19 ก.ย. 54 ให้ประเทศสมาชิกร่วมกันดำเนินการป้องกันและควบคุม เพราะกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ไม่เพียงทำให้ประชาชนสุขภาพไม่ดีเท่านั้น แต่ยังทำให้การทำงานด้อยประสิทธิภาพ อาจทุพพลภาพหรือเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย่างรุนแรง
01 มี.ค. 64 11,882 ครั้ง “พี่คะขอรสชาติจัดจ้าน แซ่บ ๆ เลยนะคะ” “พี่ครับขอเพิ่มหวานอีกนิดนะครับ” “ของทอดนี่มันอร่อยจริงๆ นะ กร๊อบ กรอบ ยิ่งถ้าได้น้ำจิ้มแซ่บ ๆ นะ คือ ดีมากกก” พฤติกรรมการนิยมบริโภคอาหารรสชาติจัดจ้าน ถึงใจ แต่มากไปด้วยปริมาณของโซเดียม ขณะที่การทานอาหารที่มีรสชาติเข้มข้นเกินไป แต่เมื่อบริโภคเกินที่ร่างกายต้องการ ย่อมส่งผลเสียตามมา ดังประโยคที่ว่า “อร่อยปาก ลำบากร่างกาย Covid-19 ที่ว่าร้าย ยังต้องพ่ายให้กับโรค NCDs” รู้หรือไม่คนไทยเสียชีวิตด้วยโรค NCDs เฉลี่ยวันละไม่ต่ำกว่า 1,000 คน ไม่เพียงเท่านั้นในแต่ละปีรัฐต้องสูญเสียงบประมาณค่ารักษาพยาบาลปีละกว่าหลายล้านบาท
16 ก.พ. 64 4,188 ครั้ง จากผลงานวิจัยล่าสุดในปี 2564 ซึ่ง ได้รับการพิมพ์ในวารสาร Journal of Clinical Hyper tension โดยความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ตีแผ่พฤติกรรมคนไทยบริโภคโซเดียม (เกลือ) เฉลี่ยสูงที่สุดในภาคใต้, ภาคกลาง, ภาคเหนือ, กรุงเทพฯ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยค่าปริมาณการบริโภคโซเดียมเฉลี่ยประชาชนไทยเท่ากับ 3,636 มิลลิกรัมต่อวันหรือเท่ากับเกลือถึง 1.8 ช้อนชา ขณะที่องค์การอนามัยโลกแนะนำให้บริโภคโซเดียมไม่เกินวันละ 2,000 มิลลิกรัม
10 ก.พ. 64 4,938 ครั้ง ในขณะที่คนทั้งโลกโฟกัสกับโรคระบาดแห่งศตวรรษอย่าง "โควิด-19" ที่ต้องแก้ไขวิกฤตอย่างเร่งด่วน ทว่า ยังมีโรคภัยอีกมากมายที่บ่อนทำลายคุณภาพชีวิต สร้างความทุกข์ทรมานทั้งกายใจ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และคงเป็นเช่นนี้ต่อไปในอนาคตหากไม่ปรับเปลี่ยนซึ่งพฤติกรรมบางประการ หนึ่งในนั้นคือ "โรคไต"อย่างที่ทราบกันดีว่า รสเค็ม รวมถึง "รสจัด" อื่นๆ ทั้งเปรี้ยว หวาน มัน คือศัตรูตัวฉกาจ นำมาซึ่งโรคดังกล่าว
10 พ.ย. 63 3,202 ครั้ง เครือข่ายลดบริโภคเค็ม ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับ กระทรวงสาธารณสุข และสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย โดย รศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ ประธานเครือข่ายลดบริโภคเค็ม และ น.อ.หญิง พญ.วรวรรณ ชัยลิมปมนตรี เลขาธิการเครือข่ายลดบริโภคเค็ม จัดแถลงข่าวการขับเคลื่อน "ลดเค็มทำได้" ในประเทศไทย โดยเครือข่ายลดบริโภคเค็ม ประจำปี 2563
06 พ.ย. 63 5,431 ครั้ง เมื่อผลการสำรวจปริมาณการบริโภคเกลือโซเดียมในประชาชนทั่วประเทศ พบว่า "คนไทยติดเค็มทุกภาค" สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จึงได้ร่วมกับ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เครือข่ายลดบริโภคเค็ม และสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย จัดงานแถลงข่าว การขับเคลื่อน “ลดเค็มทำได้” ในประเทศไทย ประจำปี 2563
05 พ.ย. 63 2,409 ครั้ง การบริโภคโซเดียมที่ล้นเกินของคนไทย จึงทำให้เร่งจัดทำแผนยุทธศาสตร์การลดการบริโภคเกลือและโซเดียมในประเทศไทย พ.ศ.2559-2568 ตั้งเป้าประชาชนบริโภคเกลือและโซเดียมลดลงร้อยละ 30 ภายในปี 2568 เพื่อลดโอกาสที่จะนำไปสู่การป่วยการเสียชีวิตและผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมจากการเพิ่มขึ้นของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือ NCDs
31 ก.ค. 63 1,900 ครั้ง การบริโภคเกลือในปริมาณมากเกินพอดีจะส่งผลให้ เกิดภาวะความดันโลหิตสูง ที่หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง จะทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนตามมา เช่น หัวใจวาย อัมพาต และความเสื่อมของไตนำที่นำไปสู่ ภาวะไตวาย ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นของคนทั่วโลก
30 มิ.ย. 63 4,984 ครั้ง การบริโภคเกลือในปริมาณมากเกินพอดีจะส่งผลให้เกิดภาวะความดันโลหิตสูง โดยโรคความดันโลหิตสูงหากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องจะทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนตามมา เช่น หัวใจวาย อัมพาต และความเสื่อมของไตนำที่นำไปสู่ภาวะไตวาย ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของคนจำนวนมากทั่วโลกในแต่ละปี มีงานวิจัยหลายชิ้นที่แสดงให้เห็นว่าการบริโภคอาหารที่มีโซเดียมต่ำ สามารถจะลดระดับความดันโลหิตลงได้ ด้วยเหตุนี้องค์การอนามัยโลก (WHO) จึงมีการรณรงค์ให้ลดการรับประทานอาหารรสเค็มเพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงการป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง
24 มิ.ย. 63 4,659 ครั้ง ในสถานการณ์ที่มีข้อจำกัดในการใช้ชีวิตช่วงนี้ ทำให้รูปแบบการใช้ชีวิตของเราเปลี่ยนไป ถึงแม้ว่าร้านอาหารต่างๆ รวมถึงร้านชาบู จะได้รับอนุญาตให้เปิดได้แล้ว แต่หลายคนอาจอยากเลือกที่จะใช้บริการสั่งมากินที่บ้านเพื่อความสบายใจ
26 ก.ค. 62 6,106 ครั้ง มาตรการทางภาษี ถูกชี้ว่าเป็นมาตรการที่มีประสิทธิภาพและคุ้มค่าที่สุดมาตรการหนึ่ง ในการลดการบริโภค "สินค้าทำลายสุขภาพ"
10 พ.ค. 62 3,346 ครั้ง แต่ละปีประเทศเรายังคงต้อง สูญเสียรายจ่ายทางสุขภาพกว่า 99,000 ล้านบาท ให้กับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)