07 ต.ค. 67 796 ครั้ง น้ำท่วม หรือ “อุทกภัย” หนึ่งในภัยพิบัติใหญ่อันดับต้น ๆ ของประเทศไทย ที่เกิดขึ้นสร้างความเสียหายมากมายแก่ทรัพย์สิน ร่างกาย และจิตใจ
16 ก.ย. 67 737 ครั้ง จากสถานการณ์อุทกภัยภาคเหนือ ส่งผลให้ในหลายจังหวัดเกิดน้ำท่วมใหญ่ ได้รับผลกระทบอย่างเลี่ยงไม่ได้ และเมื่อน้ำผ่านไป สภาพบ้านเรือน ก็เต็มไปด้วยความเสียหาย เพราะในช่วงน้ำท่วมจะพัดพาสิ่งสกปรกมาจากทุกสารทิศ ทั้งโคลนตม ขยะ วัสดุ สิ่งของต่าง ๆ ส่งผลให้เกิดการหมักหมม อาจเป็นสาเหตุให้เกิดการระบาดของโรคได้ เพื่อสุขอนามัยที่ดีจึงต้องมีการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมและที่พักอาศัยตามหลักสุขาภิบาล เพราะหากปล่อยไว้นาน จะกลายเป็นแหล่งสะสมและแพร่กระจายของเชื้อโรค
13 ก.ย. 67 1,118 ครั้ง จากหย่อมความกดอากาศต่ำประกอบกับร่องมรสุมที่พาดผ่านในหลายพื้นที่ อาจทำให้มีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่องจนเกิดปัญหาอุทกภัย เช่น น้ำท่วมหรือน้ำป่าไหลหลาก ผู้ที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยง เช่น ที่ราบลุ่มและริมแม่น้ำ ควรเตรียมความพร้อมล่วงหน้า เพื่อป้องกันแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น
03 ก.ย. 67 1,223 ครั้ง ช่วงฤดูฝน หลายพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดน้ำท่วม การเตรียมความพร้อมรับมือน้ำท่วมจึงเป็นเรื่องที่สำคัญ
03 ก.ย. 67 1,095 ครั้ง กรมการแพทย์เตือนภัย "โรคที่มากับน้ำท่วม" ส่วนใหญ่พบโรคติดเชื้อทางเดินอาหาร ตาแดง ผิวหนังจากแมลงสัตว์มีพิษกัดต่อย และน้ำกัดเท้า แนะประชาชนเตรียมพร้อมดูแลสุขภาพ
17 ก.ค. 66 17,861 ครั้ง น้ำท่วมเป็นภัยธรรมชาติ ที่หนักหนาสาหัสทำให้เสียหายทั้งบ้านเรือน ไร่นา นอกจากเป็นปัญหาทางด้านเศรษฐกิจแล้ว ยังมีปัญหาสุขภาพตามมาอีกด้วย นับเป็นเรื่องที่น่าเห็นใจเป็นอย่างมาก
26 พ.ย. 65 1,796 ครั้ง กรมควบคุมโรค เตือนประชาชนที่อยู่ในพื้นที่น้ำท่วมขังและเกษตรกรที่ต้องลุยน้ำย่ำโคลนหรือแช่น้ำนาน ๆ อาจเสี่ยงต่อการติดเชื้อไข้ฉี่หนูที่มาพร้อมกับน้ำท่วมขัง
31 ต.ค. 65 1,404 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะประชาชนพื้นที่หลังน้ำลด เร่งฟื้นฟูสภาพแวดล้อมและที่พักอาศัย ด้วยการทำความสะอาดอย่างถูกวิธี 3 ขั้นตอน ลดปัญหาเชื้อราสะสม
26 ต.ค. 65 1,454 ครั้ง ช่วงหน้าฝน หลายพื้นที่เกิดอุทกภัยและมีน้ำท่วมขังเป็นเวลานาน จนกระทั่งน้ำลดลง อาจทำให้มีการแพร่ระบาดของ “โรคฉี่หนู” หรือ “โรคเลปโตสไปโรสิส” เนื่องจากเชื้อโรคจะปนเปื้อนมากับน้ำ สคร.9 นครราชสีมา แนะหลีกเลี่ยงการเดินเท้าเปล่าลุยน้ำย่ำโคลนหรือแช่น้ำเป็นเวลานาน หากจำเป็นควรสวมรองเท้าบู๊ท หรือถุงพลาสติกสะอาดทุกครั้ง หรือถ้าไม่ได้สวมรองเท้าบู๊ท เมื่อลุยน้ำเสร็จต้องรีบล้างมือล้างเท้าด้วยสบู่และน้ำโดยเร็ว
18 ต.ค. 65 1,108 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะนำ 6 ขั้นตอนทำความสะอาดน้ำใช้ ไว้ใช้ในบ้านช่วงน้ำท่วมพร้อมเตือนนำขวดพลาสติกมาใช้ซ้ำ ควรเลือกที่ไม่มีรอยขีดข่วน ไม่มีคราบสกปรก และทำความสะอาดอย่างถูกวิธี
17 ต.ค. 65 1,550 ครั้ง กรมการแพทย์โดยรพ.เมตตาฯ รู้สึกห่วงใยในสถานการณ์น้ำท่วมอย่างต่อเนื่อง เตือนระวังโรคตาติดเชื้อที่มาพร้อมน้ำท่วมขังนาน โอกาสเกิดโรคภัยไข้เจ็บย่อมมีเพิ่มขึ้น ได้แก่ โรคอุจจาระร่วง ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ โรคไข้ฉี่หนู หรือ โรคเลปโตสไปโรซิส โรคน้ำกัดเท้า หรือฮ่องกงฟุต โรคไข้เลือดออกโรคไข้มาลาเรียซึ่งไม่เพียงแต่สุขภาพทั่วไป การดูแลสุขภาพดวงตามิให้เกิดโรคตาคือ เยื่อบุตาอักเสบหรือตาแดงก็มีความสำคัญซึ่งในกลุ่มผู้มีอาการเป็นภูมิแพ้อากาศขึ้นตาเยื่อบุอักเสบ ตาแดง ไม่ควรมองข้ามอาจติดเชื้อแบคที่เรีย ไวรัส และภูมิแพ้อากาศได้แนะหากมีอาการตาแดงผิดปกติควรรีบพบจักษุแพทย์ทันที
16 ต.ค. 65 1,514 ครั้ง น้ำท่วมไทยอ่วม สสส. เร่งสานพลัง ภาคีหนุน วัด 364 แห่ง เป็น “ศูนย์ประสานงานช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ฝ่ายสาธารณสงเคราะห์” สร้างแกนนำ “พระสงฆ์ไม่ทิ้งประชาชน” ลุยน้ำมอบถุงยังชีพ บรรเทาทุกข์-เป็นที่พึ่งให้สังคม
15 ต.ค. 65 20,553 ครั้ง กรมการแพทย์ โดยสถาบันโรคผิวหนังชี้ “ โรคน้ำกัดเท้า ” ในพื้นที่อุทกภัย หรือมีน้ำท่วมขัง ซึ่งถือเป็นโรคที่ประชาชนไม่ควรละเลย และควรมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองอย่างถูกวิธี เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงต่าง ๆ ที่จะตามมาได้
12 ต.ค. 65 1,478 ครั้ง กรมควบคุมโรค แนะประชาชนในพื้นที่น้ำท่วม เพิ่มความระมัดระวังในการเดินทาง หลีกเลี่ยงการขับรถหรือเดินฝ่าบริเวณน้ำท่วม และหลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมทางน้ำ เช่น ออกหาปลาช่วงน้ำไหลหลาก เพราะอาจเสี่ยงต่อการถูกกระแสน้ำพัดพาหรืออาจจมน้ำเสียชีวิตได้ เผยเกือบครึ่งหนึ่งของการจมน้ำในช่วงน้ำท่วม เดือน (ก.ย. - ต.ค. 65) เกิดจากการขับรถผ่านน้ำท่วมและออกหาปลา
10 ต.ค. 65 856 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะศูนย์พักพิงคุมเข้มสุขอนามัยส่วนบุคคลของประชาชาชนที่อาศัยอยู่รวมกัน พร้อมย้ำจุดปรุงประกอบอาหาร ให้เน้นปรุงร้อน สะอาด ถูกสุขลักษณะมีการจัดการสุขาภิบาลอาหาร และสิ่งแวดล้อม ขยะ และใช้ส้วมอย่างถูกต้องเพื่อป้องกันโรค
23 ก.ย. 65 1,163 ครั้ง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ห่วงประชาชนที่อยู่ในพื้นที่น้ำท่วม ให้ระมัดระวังภัยสุขภาพที่มากับน้ำท่วม ได้แก่ การจมน้ำ ไฟฟ้าช็อต และสัตว์มีพิษกัดต่อย พร้อมแนะวิธีป้องกันโดยเน้นไม่ให้เดินลุยน้ำบริเวณน้ำไหลเชี่ยว สำรวจมุมอับของบ้านเป็นประจำ ป้องกันสัตว์มีพิษเข้าไปหลบซ่อน ไม่เดินลุยน้ำเข้าใกล้ปลั๊กไฟ สายไฟ หรือเสาไฟฟ้า และติดตามข่าวสารจากหน่วยงานของรัฐอย่างใกล้ชิด