12 ก.ค. 67 348 ครั้ง ภัยเงียบ! ความดันโลหิตสูง ปล่อยไว้นาน อันตรายถึงชีวิต ชวนตรวจสุขภาพเป็นประจำ ลดเครียด ลดเสี่ยงโรค กรมการแพทย์ โดยสถาบันโรคทรวงอกแนะ หากพบว่าตนเองมีค่าความดันโลหิตเกินค่ามาตรฐาน ควรหมั่นตรวจความดันโลหิตเป็นประจำ สามารถทำได้เองที่บ้าน โดยใช้เครื่องวัดความดันแบบพันแขนตามมาตรฐาน แนะนำให้วัด 2 ช่วง เช้าและเย็น
28 เม.ย. 64 2,554 ครั้ง จากการสังเกตผู้เสียชีวิต จากการระบาดของโควิด 19 ระลอกใหม่ พบว่า ปัจจัยเสี่ยงส่วนใหญ่ ได้แก่ "โรคอ้วน" รวมถึงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ซึ่งอยู่ใน กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) หลายรายเป็นผู้ที่มี "อายุน้อย" ภาพรวมในระลอกเดือนเม.ย. พบผู้เสียชีวิตมีอายุเฉลี่ย 29 ปี ต่างจาก การระบาดระลอกที่ผ่านมาซึ่งผู้เสียชีวิต ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว
13 ม.ค. 64 3,565 ครั้ง เปิดเผยกรณีมีผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19 เสียชีวิตในพื้นที่ กทม.หลังเข้ารับการรักษาได้เพียง 2 วัน โดยประเด็นการเสียชีวิตดังกล่าวทำให้เกิดความตื่นตัวในเรื่องอาการและความรุนแรงของโรค โดยเฉพาะผู้เสียชีวิตดังกล่าวเป็นกลุ่มเสี่ยงเพราะมีภาวะอ้วน และมีอาการไข้มาหลายวัน แต่ไม่ได้มาพบแพทย์แต่แรก กระทั่งมีอาการหายใจหอบเหนื่อยร่วมด้วย ทำให้อาการของโรครุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต ทั้งนี้ ด้วยความห่วงใย จึงย้ำให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสังเกตอาการตัวเองใกล้ชิด หากมีอาการไข้ ไอ หรือมีน้ำมูก จมูกไม่ได้กลิ่น ลิ้นไม่รับรส ให้รีบพบแพทย์ พร้อมแจ้งข้อมูลจริง เปิดเผยประวัติการเดินทาง เพื่อเข้ารับการรักษาต่อไป
02 ก.ย. 63 4,451 ครั้ง ความดันโลหิตคือค่าที่วัดแรงดันในหลอดเลือดแดง โดยใช้เครื่องวัดซึ่งมีหลายแบบทั้งที่เป็นแบบปรอท แบบเข็มวัด และแบบอัตโนมัติ ค่าที่วัดได้มี 2 ค่า โดยเขียนเป็นตัวเลข 2 ตัว คั่นกลางด้วยเครื่องหมาย เศษส่วน เช่น 130/80 มิลลิเมตรปรอท ตัวเลขตัวแรก หรือตัวบนเป็นค่าความดันโลหิตระหว่างหัวใจบีบตัว (ความดันโลหิตซิสโตลิกส์) ส่วนตัวเลขตัวที่สอง หรือตัวล่างเป็นค่าความดันโลหิตระหว่างหัวใจ คลายตัว (ความดันโลหิตไดแอสโตลิกส์) ทั้งนี้จะต้อง วัดด้วยวิธีการที่ถูกต้อง กล่าวคือ ผู้ป่วยควรนั่งพัก อย่างน้อย 5 นาที วัดในท่านั่ง ใช้ผ้าพันแขนที่ได้มาตรฐาน และอยู่ในระดับเดียวกับหัวใจ
26 ส.ค. 62 6,269 ครั้ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เชิญชวนประชาชนตรวจสอบคุณภาพเครื่องวัดความดันโลหิตที่ใช้อยู่ได้ด้วยตัวเองที่สถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ใกล้บ้าน โดยประชาชนสามารถโหลดแอปพลิเคชัน BP Sure ตรวจสอบจุดบริการใกล้บ้าน เพื่อสร้างความมั่นใจในผลการวัด เพื่อดูแลสุขภาพของตนเอง และคนในครอบครัว
10 ก.ค. 62 20,666 ครั้ง ความดันในกะโหลกศีรษะแตกต่างจากความดัน โลหิตอย่างสิ้นเชิง และการจะทำการประเมินหรือวัดความดันในกะโหลกศีรษะนั้น มีขั้นตอนที่ซับซ้อนจึงจำเป็นต้องทำโดยประสาทศัลยแพทย์เท่านั้น ปกติแล้วความดันในกะโหลกศีรษะของมนุษย์จะอยู่ที่ 10 - 15 เซนติเมตรน้ำ แต่หากมีความผิดปกติ เช่น เกิดการอักเสบ ไม่ว่าจะเกิดจากการกระทบกระแทก การมีเลือดออกในสมอง การติดเชื้อ หรือการมีเนื้องอกในสมอง ก็ทำให้ความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มสูงขึ้น
21 พ.ค. 62 5,432 ครั้ง แพทย์แผนไทยแนะเสริมเกราะป้องกันโรคความดันโลหิตสูงด้วยพืชสมุนไพร ผักพื้นบ้าน ชูเมนูอาหารทำง่าย ยำตะไคร้ ป้องกันและลดภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องในวัน ความดันโลหิตสูงโลก
04 เม.ย. 62 8,815 ครั้ง ผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง (มากกว่า 140/90 mmHg) ควรมีกิจกรรมทางกาย อย่างสม่ำเสมอเพื่อลดความดันโลหิต
07 ก.พ. 62 28,079 ครั้ง โรคความดันโลหิตสูงหรือที่ทุกคนเรียกกันว่าความดันสูง ซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า กลุ่มโรค NCDs อย่าง มะเร็ง เบาหวาน ความดัน หัวใจ และอีกหลาย ๆ โรค
01 ก.พ. 62 3,585 ครั้ง พฤติกรรมติดเค็มคร่าชีวิตคนไทยกว่าปีละ 20,000 คน เพราะกินเค็มเกิน 2 เท่า สูงกว่าปริมาณที่องค์การอนามัยโลกแนะนำ
02 ม.ค. 62 55,047 ครั้ง เฉลี่ยแล้ว ทุกๆ 5 คนจะมีผู้ที่เป็นโรคความ ดันเลือดสูง 1 คน อายุยิ่งมาก ยิ่งมีโอกาสเป็นโรคความ ดันเลือดสูงมากขึ้นตาม ดังนั้น ผู้ที่อายุมากกว่า 35 ปี ทุกคนควรได้รับการตรวจวัดความดันเลือดอย่างน้อยปีละครั้ง
22 พ.ย. 61 4,284 ครั้ง องค์การอนามัยโลกแนะนำว่า คนธรรมดา ที่เป็นผู้ใหญ่ควรกินโซเดียมไม่เกินวันละ 2,000 มิลลิกรัม หรือหมายถึงการบริโภคเกลือแกงที่เราใช้ปรุงอาหารไม่เกิน 1 ช้อนชา แบ่งเป็น 3 มื้อหลัก มื้อละ 600 มิลลิกรัม และมื้อว่าง 200 มิลลิกรัม
22 ต.ค. 61 4,976 ครั้ง UN เสนอตั้งกก.กำกับทิศทาง NCDs นายกฯ นั่งประธาน `ฉัตรชัย` เผยรัฐพร้อมหนุนมาตรการป้องกัน
04 ต.ค. 61 13,390 ครั้ง กินเจแบบสุขภาพดี ทำอย่างไร? แล้วจะเลือกกินอย่างไรดีหากว่าเราอยากอิ่มทั้งบุญและอิ่มท้อง ไปพร้อมๆ กับการมีสุขภาพดี
25 ก.ย. 61 11,476 ครั้ง เตือน"หนานเฉาเหว่ย"แฝงภัย พบผู้ป่วยเบาหวานกินติดต่อหลายวันเกิดอาการเกือบหมดสติน้ำตาลในเลือดต่ำ
29 มิ.ย. 61 17,915 ครั้ง ผลลัพธ์ของวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง เริ่มสะท้อนผลลบให้เห็น ผ่านสุขภาพ คนไทย ที่กำลังเพิ่มสถิติโรคอ้วน (Obesity) และโรคที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง และภาวะไตวายเรื้อรัง เป็นต้น