06 ต.ค. 63 6,836 ครั้ง กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังยอดฮิตต่างๆ อย่างโรคเบาหวาน, โรคหลอดเลือดและหัวใจ, โรคความดัน, โรคมะเร็ง ส่วนใหญ่เกิดขึ้นได้จากพฤติกรรมการกินของเรา แล้วการกินแบบไหน เสี่ยงให้เกิดโรคร้าย มาดูไปพร้อมกันเลย!!
20 ก.ค. 63 5,812 ครั้ง ในปัจจุบันนี้โรคอ้วนและอ้วนลงพุงมีจำนวนเพิ่มมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งหนึ่งในสาเหตุของการเกิดนั้นมาจากการที่กินมากเกินไป (overeating) จากการศึกษาพบว่ารสชาติของอาหารเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้คนกินอาหารมากขึ้น โดยพบว่ารสเค็มเป็นรสที่ส่งผลต่อการกินมากที่สุด รสชาติเค็มเปรียบเหมือนยาเสพติดโดยเร่งการผลิตโดปามีนซึ่งเป็นสารเคมีในสมองส่งผลต่ออารมณ์ความพึงพอใจ ความสุข ทำให้เกิดความรู้สึกอยากอาหาร เมื่อติดรสชาติเค็มแล้วหากไม่ได้รสชาติเค็มก็จะรู้สึกว่าอาหารไม่อร่อย รู้สึกหงุดหงิด อารมณ์เสีย นอกจากนี้ผู้ที่ติดรสชาติเค็มเพียงแค่นึกถึงอาหารที่มีรสชาติเค็มก็สามารถทำให้เกิดความรู้หิวและอยากอาหารขึ้นมา จึงเป็นสาเหตุให้ผู้ที่ชอบกินเค็มอาจจะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำหนักเกินหรือโรคอ้วนได้ง่ายกว่าผู้ที่ไม่ชอบกินเค็มเนื่องมาจากพอความรู้สึกอยากอาหารมากขึ้น กินก็มากขึ้น โอกาสการได้รับพลังงานที่มาจากอาหารก็จะมากขึ้นตามไปด้วย
26 ก.ค. 62 5,898 ครั้ง มาตรการทางภาษี ถูกชี้ว่าเป็นมาตรการที่มีประสิทธิภาพและคุ้มค่าที่สุดมาตรการหนึ่ง ในการลดการบริโภค "สินค้าทำลายสุขภาพ"
30 เม.ย. 62 1,842 ครั้ง สสส.-WHO-กรมควบคุมโรค-เครือข่ายลดบริโภคเค็ม ห่วงคนไทยติดเค็มจากวัฒนธรรมท้องถิ่น
29 เม.ย. 62 3,616 ครั้ง "แนวทางลดพฤติกรรมติดเค็มของคนไทย"เนื่องจากคนไทยเจ็บป่วยจาก "กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non - Communicable Diseases : NCDs)" เป็นจำนวนมาก และ "ความเค็ม" ก็เป็นสาเหตุของบางโรค
25 เม.ย. 62 4,419 ครั้ง ปัจจุบันคนไทยกินเค็มเกิน 2 เท่า (โซเดียมเฉลี่ยที่คนไทยกิน 4,352 มิลลิกรัม/วัน)
24 เม.ย. 62 1,963 ครั้ง แพทย์ห่วง 'สตรีทฟู้ด' ทำคนไทยกินเค็มเกิน แนะติดคำเตือนฉลากเครื่องปรุง-ดึง อปท. ร่วมตรวจสอบ
23 เม.ย. 62 7,338 ครั้ง สสส.-WHO-กรมควบคุมโรค-เครือข่ายลดเค็มฯ ห่วงคนไทยติดเค็มจากวัฒนธรรมท้องถิ่น ต้นเหตุตายกว่า 2 หมื่นคน/ปี แนะโซเดียมไม่เกิน 2,000 มก./วัน ง่ายๆ ด้วยวิธี 3 ลด คาดกินเค็มดิ่งลง 30% ในปี 68
11 เม.ย. 62 35,564 ครั้ง ยิ่งอายุเพิ่มมากขึ้นการทำงานของประสาทรับรสก็ยิ่งเสื่อมลงไม่ต่างกับอวัยวะอื่น ๆ ในร่างกาย ซึ่งภาวะการสูญเสียการรับรู้รสจะพบได้มากในกลุ่มผู้สูงอายุ จึงอย่าได้แปลกใจหากอาหารสุดอร่อยที่คุณตาคุณยายในบ้านเคยทำให้เมื่อตอนเราเด็ก พอกลับมาทานตอนโตจะรู้สึกว่าปรุงหนักและมีรสชาติจัดไปทางรสเค็ม
26 มี.ค. 62 2,845 ครั้ง สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย ร่วมกับ กระทรวงสาธารณสุข, เครือข่ายลดบริโภคเค็ม, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.), มูลนิธิโรคไตแห่งประเทศไทย, องค์การเภสัชกรรม และสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักถึงการบริโภคลดเค็มของคนไทย จัดกิจกรรมวันไตโลก ปี 2562
20 มี.ค. 62 4,822 ครั้ง การสื่อสารที่อยากให้พิชิตใจถึงตรงกลุ่มเป้าหมาย บางครั้งก็อาจไม่ต้องคิดเติมไอเดียอะไรยุ่งยาก แต่กลายเป็นเรื่องธรรมดา สื่อสารออกมาให้เข้าใจง่ายๆ อาจด้วยภาพ และยิ่งถ้าทำให้เกิดความประทับใจและเป็นภาพจำ ก็สามารถนำคอนเซ็ปต์เหล่านี้ไปใช้ต่อยอดได้
27 ก.พ. 62 3,668 ครั้ง ปักธงนำไว้ก่อนล่วงหน้าถึง เป้าหมายสังคมสุขภาวะ ที่ไม่ใช่แค่การรักษา แต่ต้องกลับมาดักที่ต้นทาง...พฤติกรรม ปัจจัยเสี่ยง มาตรการทางภาษี และยุทธศาสตร์ SALTS
07 ก.พ. 62 28,234 ครั้ง โรคความดันโลหิตสูงหรือที่ทุกคนเรียกกันว่าความดันสูง ซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า กลุ่มโรค NCDs อย่าง มะเร็ง เบาหวาน ความดัน หัวใจ และอีกหลาย ๆ โรค
06 ก.พ. 62 8,155 ครั้ง แถลงข่าว "รวมพลังประกาศเจตนารมณ์ "แก้ปัญหาพฤติกรรมเด็กติดเค็ม" และการจัดงานกิจกรรมสัปดาห์วันไตโลกและสัปดาห์ลดการบริโภคเค็ม ประจำปี 2562