26 ก.พ. 63 2,574 ครั้ง เตือนโรคกระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือดไปเลี้ยงกระดูกทำให้เกิดอาการปวด และสร้างปัญหาต่อการเดิน ควรใส่ใจก่อนจะสายเกินไป
21 มิ.ย. 62 2,564 ครั้ง โรคกระดูกพรุน หมายถึง โรคที่ความแข็งแรงของกระดูกลดลง จนทำให้เกิดความเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหัก โดยเหตุที่อุบัติเหตุเล็กน้อยก็อาจจะทำให้กระดูกหักได้ ความสำคัญกับอันตรายของโรคนี้ ถ้าเป็นปกติโดยทั่วไปเดินหกล้มบนพื้นราบธรรมดา เราไม่เป็นอะไร อย่างมากเราอาจจะข้อเท้าพลิก เจ็บมือนิดหน่อย เอามือยันพื้นได้ แต่กลุ่มคนที่เป็นโรคกระดูกพรุน เราลื่นล้มบนพื้นราบ ก็อาจจะทำให้เกิดกระดูกหักได้ มือยันพื้น ข้อมือหัก สะโพกกระแทกพื้นสะโพกหัก นี่คือความอันตรายของโรคกระดูกพรุน
12 พ.ย. 61 14,378 ครั้ง แพทย์ เผย แนวทางการรักษาโรคกระดูกพรุน มี 2 วิธีคือ รักษาโดยใช้ยา และบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
06 ส.ค. 61 4,225 ครั้ง “โรคกระดูกพรุน” ในผู้สูงวัยเป็นภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม แนะเลี่ยง กาแฟ น้ำอัดลม อาหารรสเค็มจัด และไม่ควรรับประทานโปรตีนมากเกิน
03 ส.ค. 61 7,318 ครั้ง การหลีกปัญหากระดูกพรุน ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ทันที นั่นคือ ระมัดระวังพฤติกรรมต่างๆ ดังนี้
24 ก.ค. 61 2,456 ครั้ง ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์ในปี 2574 ปัจจัยเสี่ยงสำคัญของโรคกระดูกพรุน คือ อายุมากขึ้น และมีประวัติกระดูกหักมาก่อน แนะ หลักเลี่ยง กาแฟ น้ำอัดลม และอาหารรสเค็มจัด
30 มี.ค. 61 10,302 ครั้ง โรคกระดูกพรุน คือภาวะที่ปริมาณแร่ธาตุ ในกระดูกลดลง ร่วมกับความเสื่อมของเนื้อเยื่อที่ประกอบเป็นโครงสร้างภายในกระดูก
13 มี.ค. 61 8,524 ครั้ง เมื่อกล่าวถึงโรคที่เกี่ยวกับกระดูกแล้ว สิ่งที่พูดถึงกันมากคือ กระดูกเสื่อม กระดูกพรุน และกระดูกอ่อน ซึ่งอย่าเหมารวมว่าเป็นโรคเดียวกันหรือมีการรักษาแบบเดียวกัน แต่ละอย่างก็มีลักษณะและการรักษาที่แตกต่างกันไป แต่กลับถูกนำมาใช้เพื่อส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์ประเภทเสริมกระดูกกันอย่างแพร่หลาย
30 ส.ค. 60 8,680 ครั้ง ในงานประชุมวิชาการประจำปี 2560 ของสำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว.) หน่วยวิจัยด้านแคลเซียม และกระดูก และภาควิชาสรีรวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ค้นพบองค์ความรู้ใหม่ที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้บริโภคแคลเซียม ตลอดจนการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เสริมแคลเซียมที่มีประสิทธิภาพการดูดซึมสูง
05 ก.ค. 59 4,529 ครั้ง กรมการแพทย์เผยคนไทยกระดูกพรุนเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะสตรีที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไปและผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน เสี่ยงเปราะหักง่าย
11 ก.ย. 58 52,615 ครั้ง งานมหกรรมสมุนไพรแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ที่เพิ่งปิดงานไป เกี่ยวกับสมุนไพรไทยที่น่าเก็บตกเอามาเล่าสู่กันฟังเรื่อง "ชะลอวัย ไกลโรค" เพื่อต้อนรับ "สังคมผู้สูงอายุ" ของไทย ถ้าจะเรียกให้เท่ๆ ต้องบอกว่า "สังคมอายุวัฒนะ" เหมือนสังคมที่เจริญแล้วในตะวันตก
01 ก.ค. 58 11,838 ครั้ง สังคมเมืองเป็นยุคที่ทันสมัย แต่ก็มาพร้อมกับความเครียดทางอารมณ์จากหน้าที่การงาน มากน้อยตามการ ใช้ชีวิตของคนไม่เว้นแม้สังคมในชนบท โดยมีปัจจัยกระตุ้น
17 พ.ย. 57 24,263 ครั้ง หมอออร์โธปิดิกส์ ย้ำ กินยารักษาโรคกระดูกพรุนต่อเนื่อง 3 - 5 ปี ต้องมีระยะพักยา 1 - 2 ปี เหตุกระดูกพรุนจะแข็งและหนาขึ้น ทำให้กระดูกใกล้เคียงมีโอกาสหักง่ายเพราะเปราะกว่า ชี้การพักยาอยู่ที่การพิจารณาของแพทย์ แนะตรวจมวลกระดูกต่อเนื่องแม้หยุดยารักษา เหตุกระดูกเริ่มบางจนเกิดภาวะกระดูกพรุนได้อีก