07-09 กรกฎาคม 2023

Time

8:00 am - 5:00 pm
แชร์

เวที “สานพลัง สร้างนวัตกรรม สู่สุขภาวะชุมชนที่ยั่งยืน” ปี 2566

กำหนดการ

เวที “สานพลัง สร้างนวัตกรรม สู่สุขภาวะชุมชนที่ยั่งยืน” ปี 2566

วาระ : พลังชุมชนท้องถิ่น ตอบโจทย์ประเทศ

วันที่ 7-9 กรกฎาคม 2566

ณ ห้องรอยัล จูบิลี่ (Royal Jubilee) ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี

วันศุกร์ที่ 7 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องรอยัล จูบิลี่ (Royal Jubilee)
07.00-08.30 น. ลงทะเบียน
08.30-09.00 น. รวมพล “คนสร้างสุข”
09.00-09.30 น. การแสดงเปิดเวที “สานพลัง สร้างนวัตกรรม สู่สุขภาวะชุมชนที่ยั่งยืน” ปี 2566
09.30-10.00 น. รายงานวัตถุประสงค์ เป้าหมายของการจัดเวที และบรรยาย… “สานงาน เสริมพลัง เปลี่ยนประเทศไทยให้น่าอยู่

โดย ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์ ผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

10.00-10.45 น. เปิดเวทีและปาฐกถาพิเศษ “ศักยภาพชุมชนท้องถิ่น สร้างสังคมสุขภาวะที่ยั่งยืน”

โดย ประธานกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) *

10.45-11.30 น. ปาฐกถาพิเศษ “ลดความเหลื่อมล้ำ สร้างสังคมที่เป็นธรรม ด้วยการกระจายอำนาจสู่ชุมชนท้องถิ่น”

โดย ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์  ประธานกรรมการจัดทำธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (ปี 2565-2570)
อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

11.30-12.15 น. มุมมองการลดความเหลื่อมล้ำทางสุขภาพและสังคม

โดย นพ.อำพล จินดาวัฒนะ สมาชิกวุฒิสภา ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสุขภาพและสังคม

อดีตเลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ

12.15-13.15 น. รับประทานอาหารกลางวัน
ห้องย่อยที่ 1 “ร่วมสร้างสังคมสุขภาวะที่เท่าเทียม”
12.30-13.15 น. ลงทะเบียน
13.15-13.30 น. รวมพลคนสร้างสุข
13.30-14.00 น. ชี้นำ… “การสร้างสังคมแห่งโอกาสและความเป็นธรรม”

โดย นายวิชญ์พิพล ติวะตันสกุล ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์การพัฒนาความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางสังคม

รักษาการที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

14.00-14.45 น. เสวนา… “การสร้างและการเข้าถึงความเท่าเทียม”

1)    คนจนเมือง

โดย นายกฤษดา สมประสงค์ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)

2)    ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

โดย ดร.ไกรยส ภัทราวาท* ผู้จัดการกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา

3)    คนไร้สัญชาติ

โดย นายสันติพงษ์ มูลฟอง ผู้จัดการมูลนิธิเครือข่ายสถานะบุคคล

4)    ความเท่าเทียมทางเพศ

โดย รศ.ดร.กฤตยา อาชวนิจกุล นายกสมาคมเพศวิถีศึกษา

ดำเนินการเสวนาโดย : นายธีร์วัฒน์ ชูรัตน์ ผู้ประกาศข่าวเนชั่นทีวี

14.45-17.00 น. ฐานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ร่วมสร้างสังคมสุขภาวะที่เท่าเทียม”

1)       การเข้าถึงการศึกษา โดย องค์การบริหารส่วนตำบลเสม็ดใต้ อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา

2)       E-Smart Pahung โดย องค์การบริหารส่วนตำบลป่าหุ่ง อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

3)       Health Station โดย เทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์

4)       Application เมืองใจดี โดย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

5)       ศูนย์ประสานงานสุขภาวะชุมชน โดย เครือข่ายสลัม 4 ภาค

6)       การผลักดันนโยบายสวัสดิการเด็กเล็กถ้วนหน้า โดย คณะทำงานขับเคลื่อนนโยบายสวัสดิการเงินอุดหนุนเด็กเล็กถ้วน

7)       สร้างโอกาส สร้างสุข สร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดย องค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

8)       หลักสูตร 8+4 สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ทุกช่วงวัย โดย เทศบาลตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

9)       วิทยาลัยจิตอาสา โดย องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

10)    เครือข่ายหมอพื้นบ้าน โดย องค์การบริหารส่วนตำบลโนนหอม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร และเครือข่ายหมอพื้นบ้าน

11)    หน่วยบริการชุมชนสร้างสุขภาวะแรงงานนอกระบบ ที่เอื้อต่อความหลากหลายทางเพศและครอบครัว โดย สมาคมวิถีทางเลือกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

17.00–17.30 น. ระดมความคิดเห็นเพื่อจัดทำ (ร่าง) ข้อเสนอนโยบายร่วมสร้างสังคมสุขภาวะที่เท่าเทียมโดยชุมชนท้องถิ่น
ห้องย่อยที่ 2 “ร่วมสร้างเศรษฐกิจชุมชนวิถีใหม่
12.30-13.15 น. ลงทะเบียน
13.15-13.30 น. รวมพลคนสร้างสุข
13.30-14.00 น. ชี้นำ… “สถานการณ์ และการปรับตัวเศรษฐกิจ สู่การจัดการหนี้สินครัวเรือน”

โดย ดร.โสมรัศมิ์ จันทรัตน์ ผู้อำนวยการวิจัย สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

14.00-14.30 น. Talk About: Start up จุดเปลี่ยนการตลาดหลังวิกฤติสุขภาพ

1)     การขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจชุมชน

โดย นางสาววิริญญา จ่าวิสูตร ประธานวิสาหกิจชุมชนตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

2)     โอวา LGBT ขายข้าวสุรินทร์

โดย นายธนาวัฒน์ จันนิม เจ้าของเพจโอวา “กะเทย” ขายข้าวสุรินทร์

14.30-15.30 น. เสวนา… “เศรษฐกิจชุมชน (พอเพียง) ฟื้นเศรษฐกิจชาติ”

1)     โรงเรียนแก้หนี้ โดย นางพิสมัย ชูศักดิ์ ประธานกองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลประดู่ยืน อำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี

2)     ชุมชนแก้หนี้ โดย นายถนอม ใจกาศ ประธานศูนย์จัดการเงินชุมชน บ้านสันป่าไหน่ ตำบลแม่ข่า อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่

3)     ธุรกิจชุมชนโดยชุมชน โดย นางสาวสุชาดา เอียดแก้ว ประธานสภาเศรษฐกิจชุมชนตำบลปากพูน อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

ดำเนินการเสวนาโดย : อยู่ระหว่างการประสานงาน

15.30-17.15 น. ฐานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ร่วมสร้างเศรษฐกิจชุมชนวิถีใหม่”

1) ธุรกิจเพื่อสังคม(SE)

(1) วิสาหกิจเพื่อสังคมเพชรคอรุม โดย นายกิติกร เมืองเกิด ประธานวิสาหกิจเพื่อสังคมเพชรคอรุม ตำบลคอรุม อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์

(2) ท่องเที่ยวชุมชนเชิงนิเวศ โดย นายอารี ติ่งหวัง ประธานกลุ่มอนุรักษ์บ้านหนองปรือ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

(3) ศูนย์เพลินวัย For Oldy โดย นางอรนุช เลิศกุลดิลก ผู้ก่อตั้งโครงการ For Oldy

2) Young Smart Farmer: เกษตรกรรุ่นใหม่

นำเข้ากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดย นายพัฒน์ธานิศ พัฒนเจริญ ประธาน Young Smart Farmer

(1) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลธาตุทอง โดย นายวิลาส ศึกนอก ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลธาตุทอง อำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ

(2) เกษตรกรรุ่นใหม่ โดย นายอาญาสิทธิ์ เหล่าชัย ประธานเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนกลุ่มการผลิตและแปรรูปข้าวอินทรีย์ (กลุ่มอารยะฟาร์ม)

ตำบลวังหลวง อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

3) การบริหารจัดการกองทุนและสถาบันการเงินชุมชน

(1) โรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านดอนคา โดย นายประภาษ ชลารัตน์ กรรมการบริหารประธานโรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านดอนคา

ตำบลทอนหงส์ อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช

(2) ศูนย์จัดการเงินทุนชุมชน(สร้างอาชีพ ลดหนี้ครัวเรือน) โดย นายเกื้อกูล แสนลัง ผู้ใหญ่บ้านบ้านหนองย่างชิ้น อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม

4) กลไกการจัดการเศรษฐกิจชุมชน

(1) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์พืช-ผัก-สมุนไพร-ผลไม้บ้านป่าป๋วย โดย ว่าที่ร้อยตรีชนะ ไชยชนะ ประธานกลุ่มวิสาหกิจบ้านป่าป๋วย

ตำบลเวียนกานต์ อำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน

(2) ตลาดกลางสินค้าเกาะขันธ์ อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช โดย จ่าโทโกเมศร์ ทองบุญชู คณะกรรมการพัฒนาตำบลเกาะขันธ์

(3) สหกรณ์การเกษตรพืชผักเกษตรอินทรีย์หนองสนิท โดย นายโฆษิต แสวงสุข ผู้ก่อตั้งสหกรณ์การเกษตรพืชผักเกษตรอินทรีย์

ตำบลหนองสนิท อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์

17.15-17.30 น. ระดมความคิดเห็นเพื่อจัดทำ (ร่าง) ข้อเสนอนโยบายร่วมสร้างเศรษฐกิจชุมชนวิถีใหม่
ห้องย่อยที่ 3 “การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภัยพิบัติ”
12.30-13.15 น. ลงทะเบียน
13.15-13.30 น. รวมพลคนสร้างสุข
13.30-14.00 น. เปิดประเด็น… “สถานการณ์โลกร้อนจากโลกสู่ประเทศไทยและการรับมือโดยชุมชนท้องถิ่น”

โดย นางสาววรรโณบล ควรอาจ ผู้ประสานงานภูมิภาค องค์กร CARE Asia Regional Management Unit

14.00-15.30 น เสวนา… “เครื่องมือในการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ”

1)      การจัดการปัญหาหมอกควันและผลกระทบ : CMU MODEL

โดย ผศ.ดร.สมพร จันทระ หัวหน้าศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์พหุวิทยาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2)      ระบบเกษตรนิเวศและการปรับตัวของเกษตรกรเพื่อรับมือการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

โดย ดร.จตุพร เทียรมา อาจารย์คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

3)      การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนท้องถิ่น

โดย ผู้แทนมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย*

4)       SMART GHG APPLICATION (SGA) : ปฏิบัติการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยชุมชนท้องถิ่น (Community Climate Action)

โดย นายกิตติพงค์ ชัยมนัสกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท อัตถจริยา จำกัด

ดำเนินการเสวนาโดย : นายภาคภูมิ ประทุมเจริญ ผู้จัดรายการธรรม Life

15.30-17.00 น. ฐานแลกเปลี่ยนเรียนรู้… “การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภัยพิบัติ”

1)     การจัดการปัญหาหมอกควันและฝุ่น PM 2.5

(1)    การจัดการพื้นที่ต้นทางที่ราบ โดย องค์การบริหารส่วนตำบลไกรนอก อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย

(2)    ชุมชนท้องถิ่นกับการจัดการไฟป่ารับมือ PM 2.5 โดย องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านจันทร์ อำเภอกัลยานิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่

(3)    การลดการเผาขยะในระดับครัวเรือน โดย เทศบาลตำบลเวียงสา อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน

2)     การจัดการเกษตรเพื่อรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

(1)    การจัดการน้ำเพื่อการเกษตร โดย เทศบาลตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี

(2)    ธนาคารน้ำใต้ดิน โดย องค์การบริหารส่วนตำบลยางขี้นก อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

(3)    การจัดการมังคุดแปลงใหญ่ด้วยพลังงานทางเลือกและการลดการใช้สารเคมี โดย ตำบลทอนหงส์ อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช

3)     การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนท้องถิ่น

(1)    ระบบการเฝ้าระวังภัยพิบัติทุกรูปแบบ โดย องค์การบริหารส่วนตำบลพิมาน อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม

(2)    การจัดการปัญหาภัยพิบัติในชุมชน โดย องค์การบริหารส่วนตำบลขอนหาด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช

(3)    การจัดการไฟป่าโดยชุมชนท้องถิ่น โดย เทศบาลตำบลไทรโยค อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี

(4)    การจัดการปัญหาดินถล่ม โดย องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ศึก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่

17.00–17.30 น. ระดมความคิดเห็นเพื่อจัดทำ (ร่าง) ข้อเสนอนโยบายการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภัยพิบัติโดยชุมชนท้องถิ่น
ห้องย่อยที่ 4 “วิวัฒน์ระบบสุขภาพ กระจายอำนาจสู่ชุมชน”
12.30-13.15 น. ลงทะเบียน
13.15-13.30 น. รวมพลคนสร้างสุข
13.30-14.00 น. ชี้นำ…“วิวัฒน์ระบบสุขภาพระดับพื้นที่ ร่วมสร้างระบบสุขภาวะชุมชน”

โดย รศ.ดร.ขนิษฐา นันทบุตร ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (ศวช.) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

14.00-14.30 ชี้นำ…“ “ถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกับการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า”

โดย นายวีระชัย ก้อนมณี อดีตผู้อำนวยการสำนักสนับสนุนระบบบริการสุขภาพชุมชน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)

14.30-15.30 น. เสวนา “รูปแบบการจัดการสุขภาพระดับพื้นที่แบบมีส่วนร่วม”

1)     บริหารจัดการแบบ 1:1 โดย ดร.ศุทธา แพรสี ประธานชมรมกระจายอำนาจสาธารณสุขสู่ท้องถิ่น

2)     ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ โดย นพ.พงศ์เทพ วงศ์วัชรไพบูลย์ ผู้อำนวยการสำนักสนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพ (สำนัก 7) สสส.

3)     การใช้เงินกองทุนสนับสนุนรับบสุขภาพระดับจังหวัดแนวใหม่ โดย นางสาวภาลิณี ปัญนาวีภัช ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข

องค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองบัวลำภู

ดำเนินการเสวนาโดย: นายประสาน อิงคนันท์* บริษัท บุญมีฤทธิ์มีเดีย จำกัด

15.30-17.00 น. ฐานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “วิวัฒน์ระบบสุขภาพ กระจายอำนาจสู่ชุมชน”

“ระบบสุขภาพหลังการกระจายอำนาจระบบสุขภาพพื้นที่ด้วยการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล”

กลุ่มที่ 1 ถ่ายโอน รพสต. ไป องค์การบริหารส่วนตำบลหรือเทศบาล (1:1)

1)     องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

2)     เทศบาลตำบลหนองป่าครั่ง อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

3)     เทศบาลนครเชียงราย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

4)     องค์การบริหารส่วนตำบลนาพู่ อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี

5)     เทศบาลเมืองปากพูน อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

กลุ่มที่ 2 ถ่ายโอน รพสต. ไป อบจ.

1)     องค์การบริหารส่วนตำบลเตาปูน อำเภอสอง จังหวัดแพร่

2)     เทศบาลตำบลนาป่าแซง อำเภอปทุมราช จังหวัดอำนาจเจริญ

3)     องค์การบริหารส่วนตำบลหนองกุงใหญ่ อำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น

4)     เทศบาลตำบลไทรโยค อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี

5)     องค์การบริหารส่วนตำบลชะแล้ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

17.00–17.30 น. ระดมความคิดเห็นเพื่อจัดทำ (ร่าง) ข้อเสนอนโยบายวิวัฒน์ระบบสุขภาพ กระจายอำนาจสู่ชุมชน
Dinner talk รู้จักกัน” ณ ห้อง Portal
17.30-18.00 น. ลงทะเบียนและรับประทานอาหารเย็นร่วมกัน
18.00-18.15 น. วีดิทัศน์แนะนำเครือข่าย
18.15-18.25 น. เปิดบ้าน & เกิดอะไรขึ้นในรอบปีที่ผ่านมา

โดย นายสมพร ใช้บางยาง ประธานเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่

18.25-18.35 น. “รู้จัก”… เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่

โดย นายธวัชชัย ฟักอังกูร ประธานกรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

18.35-18.45 น. “รู้รอบ”… ภาคีร่วมขับเคลื่อน

โดย ดร.ประกาศิต กายะสิทธิ์  รักษาการผู้อำนวยการสำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สำนัก 3)  สสส.

18.45-18.55 น. “รู้รับปรับตัว” … ต่อทิศทางการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะชุมชน

โดย นายสมพร ใช้บางยาง ประธานเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่

18.55-20.15 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้…รู้จัก-รู้รอบ-รู้รับปรับตัว”
20.15-20.30 น. ถ่ายภาพร่วมกัน
วันเสาร์ที่ 8 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องรอยัล จูบิลี่ (Royal Jubilee)
07.30-08.30 น. ลงทะเบียน
08.30-08.45 น. รวมพล “คนสร้างสุข”
08.45-09.00 น. วีดิทัศน์ประมวลภาพกิจกรรม 7 กรกฎาคม 2566
09.00-09.45 น. บรรยาย…“ร่วมสร้างสังคมสุขภาวะแนวใหม่”

โดย ดร.ประกาศิต กายะสิทธิ์ รองผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

รักษาการผู้อำนวยการสำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สำนัก 3) สสส.

09.45-12.00 น. แนวทางการสร้าง… “ระบบสุขภาพชุมชน เท่าเทียม ถ้วนหน้า ยุคถ่ายโอน รพ.สต. ไป อบจ.”

โดย  ปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สธ.)*

เลขาธิการสำนักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) *

อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (สถ.) *

นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี และนายกสมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทย*

ดำเนินรายการโดย : นางสาววิภาพร วัฒนวิทย์ ผู้ประกาศข่าวและผู้สื่อข่าวไทยพีบีเอส

12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
ห้องย่อยที่ 5 “สมัชชาร่วมสร้างคุณภาพสังคมสูงวัย”
12.30-13.15 น. ลงทะเบียน
13.15-13.30 น. รวมพลคนสร้างสุข
13.30-13.45 น. เปิดการประชุมและแนะนำองค์กรผู้เข้าร่วมประชุม

โดย นายสมพร ใช้บางยาง ประธานเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่

13.45-14.15 น บรรยายพิเศษ“ความคาดหวังต่อการนำข้อเสนอนโยบายสาธารณะการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุไปปฏิบัติโดยหน่วยงานรัฐ”

โดย นายสมศักดิ์ สุวรรณสุจริต ประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน

14.15-14.35 น. นำเสนอข้อมูล… “บทบาทและภารกิจที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ”

โดย  ผู้แทนกรมกิจการผู้สูงอายุ (ผส.) *

ผู้แทนกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (สถ.) *

ผู้แทนสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งขาติ (สปสช.) *

ผู้แทนสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) *

14.35-15.05 น. นำเสนอข้อมูล… “16 ประเด็น เพื่อพัฒนานโยบายส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยชุมชนท้องถิ่น”

โดย รศ.ดร.ขนิษฐา นันทบุตร ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (ศวช.) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

15.05-17.00 น. ให้ความเห็นต่อข้อเสนอนโยบายสาธารณะการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

โดย ผู้เข้าร่วมเวทีสมัชชา

17.00-17.30 น. สรุปร่างข้อเสนอนโยบายสาธารณะการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

โดย นายสมพร ใช้บางยาง ประธานเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่

ห้องย่อยที่ 6 “ร่วมสร้างระบบอาหารชุมชน”
12.30-13.15 น. ลงทะเบียน
13.15-13.30 น. รวมพลคนสร้างสุข
13.30-13.50 น. ชี้นำรูปแบบการบูรณาการการสร้างระบบอาหารชุมชนโดยชุมชนท้องถิ่น”

โดย ทพญ.จันทนา อึ้งชูศักดิ์ ประธานกรรมการกำกับทิศทางแผนอาหารเพื่อสุขภาวะ และกรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

13.50-14.20 น. ชี้นำ… “บทบาทของชุมชนท้องถิ่นต่อการตอบโจทย์วิกฤตความมั่นคงทางอาหาร”

โดย นายวิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ ผู้อำนวยการมูลนิธิชีววิถี

14.20-14.50 น. นำเสนอ… “ความรู้และเครื่องมือพัฒนาความมั่นคงทางอาหารและระบบอาหารชุมชน”

1)     สภาพลเมืองอาหาร

โดย นางวัลลภา แวนวิลเลียนส์ทรัด บริษัท อินี่ เครือข่ายนวัตกรรมสากล จำกัด (สำนัก 5) สสส.

2)     5 ชุดกิจกรรมขับเคลื่อนระบบอาหารชุมชน

โดย นางสาวทัศนีย์ วีระกันต์ รองผู้อำนวยการมูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน (ประเทศไทย) (สำนัก 3) สสส.

ดำเนินรายการโดย :  นางสาวกรรณิการ์ กิจติเวชกุล ผู้จัดรายการเช้าทันโลก FM 96.5

14.50-17.00 น. ฐานแลกเปลี่ยนเรียนรู้…“ร่วมสร้างระบบอาหารชุมชน”

1)       อาหารขึ้นห้าง สร้างเศรษฐกิจชุมชนและความมั่นคงทางอาหาร โดย เทศบาลตำบลไทรย้อย อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก

2)       การใช้พื้นที่สาธารณะ/โรงเรียนเป็นแหล่งอาหารชุมชน โดย องค์การบริหารส่วนตำบลตากตก อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก

3)       บูรณาการอาหารชุมชน โดย องค์การบริหารส่วนตำบลหนองสนิท อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์

4)       อาหารจากฐานทรัพยากร โดย องค์การบริหารส่วนตำบลดงใหญ่ อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม

5)       โรงเรียนชาวนา หมู่บ้านต้นประดู่ โดย เทศบาลตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

6)       วิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารทะเล โดย เทศบาลเมืองปากพูน อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

7)       สร้างความหลากหลายในระบบเกษตรของชุมชนชาติพันธุ์ โดย สมาคมสร้างเสริมสุขภาวะชุมชนชาติพันธุ์

8)       พันธุกรรมและการเข้าถึงอาหารของกลุ่มเปราะบาง โดย เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก จ.มหาสารคาม

9)       หนี้สินชาวนาและการพัฒนาระบบเกษตรยั่งยืน โดย มูลนิธิชีวิตไท

10)      สวนยางยั่งยืน พันธุกรรมข้าวไร่และผักพื้นบ้าน รับมือต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ โดย เครือข่ายเกษตรพื้นบ้าน ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

17.00–17.30 น. ระดมความคิดเห็นเพื่อจัดทำ (ร่าง) ข้อเสนอนโยบายร่วมสร้างระบบอาหารชุมชน
ห้องย่อยที่ 7 “ร่วมสร้างสังคมเกื้อกูลเพื่อผู้ป่วยจิตเวชและกลุ่มเปราะบาง”
12.30-13.15 น. ลงทะเบียน
13.15-13.30 น. รวมพลคนสร้างสุข
13.30-14.00 น. ให้ข้อมูล… “สถานการณ์และความสำคัญของการดูแลผู้ป่วยจิตเวชและกลุ่มเปราะบาง”

โดย ดร.นพ.วรตม์ โชติพิทยสุนนท์ โฆษกกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

14.00-14.45 น. เสวนา… “การดูแลผู้ป่วยจิตเวชและกลุ่มเปราะบางโดยชุมชนท้องถิ่น”

1)     โครงข่ายการดูแลผู้ป่วยจิตเวชและกลุ่มเปราะบาง ระดับดับอำเภอ

โดย นายอุทัย ฟูวงศ์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลแม่พริก อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย

2)     โครงข่ายบริการสุขภาพสำหรับผู้ป่วยจิตเวชและกลุ่มเปราะบาง

โดย ผู้แทนจากโรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่*

3)     โครงข่ายการดูแลผู้ป่วยจิตเวชและกลุ่มเปราะบางในชุมชน

โดย นางไซนะ มรรคาเขต พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลแว้ง จังหวัดนราธิวาส

4)     “สุขเป็น” บทเรียนการส่งเสริมสุขภาพจิตชุมชน เติมเต็มระบบการดูแลสุขภาพจิตให้ประชาชน

โดย นางสาววงค์อัมพร  ภิญญวงค์ โรงพยาบาลดอยเต่า และแกนนำคณะทำงานสุขเป็น ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่

ดำเนินการเสวนาโดย : นายชาติวุฒิ วังวล ผู้อำนวยการสำนักสนับสนุนการควบคุมปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ (สำนัก 2) สสส.

14.45-17.15 น. ฐานแลกเปลี่ยนเรียนรู้…“ร่วมสร้างสังคมเกื้อกูลเพื่อผู้ป่วยจิตเวชและกลุ่มเปราะบาง”

1)     การขับเคลื่อน 4 Pillars Model โดย เทศบาลตำบลวังผาง อำเภอเวียงหนองล่อง จังหวัดลำพูน

2)     การดูแลกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน โดย องค์การบริหารส่วนตำบแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

3)     มาตรการชุมชนสร้างสุข โดย ตำบลเหมืองแก้วและตำบลสันโป่ง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

4)     ศูนย์ช่วยเหลือทางสังคมระดับตำบล โดย องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านมาง อำเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา

5)     การใช้เครื่องมือประเมินสุขภาพจิตและการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในชุมชน โดย เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว

6)     ธรรมนูญความรุนแรงในครอบครัว โดย ตำบลแม่พริก อำเภอสรวย จังหวัดเชียงราย

7)     กลไก OSCC ในการป้องกันและเฝ้าระวังความรุนแรงในครอบครัวและชุมชน โดย โรงพบาบาลป่าแดด อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย

8)     เพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อสร้างหลักประกันทางสังคม (หมอสุขชุมชน) โดย สมาคมวิถีทางเลือกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

9)     การใช้ธรรมนูญตำบลในการเฝ้าระวังความรุนแรงในครอบครัวและชุมชน โดย องค์การบริหารส่วนตำบลสะอาดสมบูรณ์ อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด

10)  การดูแลและบำบัดผู้ติดยาเสพติด โดย องค์การบริหารส่วนตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

11)  ธนาคารเวลา โดย โครงการพัฒนารูปแบบกลไกกลางธนาคารเวลาชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่

17.15-17.30 น. ระดมความคิดเห็นเพื่อจัดทำ (ร่าง) ข้อเสนอนโยบายร่วมสร้างสังคมเกื้อกูลเพื่อผู้ป่วยจิตเวชและกลุ่มเปราะบาง
ห้องย่อยที่ 8 ร่วมสร้างสุขภาวะเขตเมือง”
12.30-13.15 น. ลงทะเบียน
13.15-13.30 น. รวมพลคนสร้างสุข
13.30-14.00 น. ปาฐกถาพิเศษ….ขับเคลื่อนสู่สุขภาวะเขตเมือง

โดย ศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย    อุปนายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

อดีตเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า

14.00-15.00 น. เสวนา….การจัดการสุขภาวะเขตเมือง

1)   เมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน โดย นายเอกพันธุ์ อินทร์ใจเอื้อ นายกเทศมนตรีเมืองสุพรรณบุรี อำแภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี

2)   เมืองอยู่สบาย โดย ดร.เสรสรรค์ นิยมเพ็ง นายกเทศมนตรีเมืองเพชรบูรณ์ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์

3)   เมืองแห่งการเรียนรู้ โดย นายนุชากร มาศฉมาดล รองนายกเทศมนตรีเมืองร้อยเอ็ด อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด

4)   เมืองแห่งโอกาส โดย นายธนาวุฒิ ถาวรพราหมณ์ นายกเทศมนตรีเมืองปากพูน อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

ดำเนินรายการโดย: นางสาววิภาพร วัฒนวิทย์ ผู้ประกาศข่าว สำนักข่าว Thai PBS

15.00-17.00 น. ฐานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมสร้างสุขภาวะเขตเมือง”

1)     เทศบาลนครเชียงราย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

2)     เทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์

3)     เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด

4)     เทศบาลเมืองมหาสารคาม อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม

5)     ชุมชนภูมิใจ และชุมชนโรงช้าง เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร

6)     เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี

7)     เทศบาลนครหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

8)     เทศบาลตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

9)     เทศบาลเมืองปากพูน อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

17.00-17.30 น. ระดมความคิดเห็นเพื่อจัดทำ (ร่าง) ข้อเสนอนโยบายร่วมสร้างสุขภาวะเขตเมือง
วันอาทิตย์ที่ 9 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องรอยัล จูบิลี่ (Royal Jubilee)
07.00-08.30 น. ลงทะเบียน
08.30-08.45 น. รวมพล “คนสร้างสุข”
08.45-09.00 น. วีดิทัศน์ประมวลภาพกิจกรรม 8 กรกฎาคม 2566
09.00-09.30 น. ปาฐกถา… “สานพลัง สร้างนวัตกรรม สร้างสังคมสุขภาวะ”

โดย ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์ ผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

09.30-11.00 น. เสวนา…“สสส. ร่วมสร้างสังคมสุขภาวะ”

โดย  นพ.สุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย       ประธานกรรมการบริหารแผน คณะที่ 1 สสส.

นายธวัชชัย ฟักอังกูร           ประธานกรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

ดร.สัมพันธ์ ศิลปะนาฎ         ประธานกรรมการบริหารแผน คณะที่ 4 สสส.

รศ.นพ.สรนิต ศิลธรรม         ประธานกรรมการบริหารแผน คณะที่ 7 สสส.

ดำเนินการเสวนาโดย : นางเบญจมาภรณ์ ลิมปิษเสถียร   ผู้ช่วยผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

รักษาการผู้อำนวยการศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ สสส.

11.00-11.20 น. ประมวลบทเรียน..เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ รวมพลังชุมชน ตอบโจทย์ประเทศ

โดย รศ.ดร.ขนิษฐา นันทบุตร ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (ศวช.) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

11.20-12.00 น. ประกาศและมอบเกียรติบัตร….ศูนย์เรียนรู้การสร้างเสริมสุขภาพ สสส.

มอบโดย ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์ ผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

12.00-12.30 น. ปาฐกถาพิเศษ…“จิตวิญญาณชุมชนท้องถิ่น สร้างการเปลี่ยนแปลง สู่สังคมแห่งความสุข”

โดย นายสมพร ใช้บางยาง ประธานเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่

12.30-13.00 น. ประกาศเจตนารมณ์

นำโดย นายสมพร ใช้บางยาง ประธานเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่

13.00 น. เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

* อยู่ระหว่างการประสานงาน

QR Code :
QR Code