16 กรกฎาคม 2568 62 ครั้ง ไอโอดีนเป็นแร่ธาตุที่ร่างกายต้องการเพียงเล็กน้อย แต่ช่วยในการสร้างฮอร์โมนไทรอยด์ ทำหน้าที่ควบคุมอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย อ่านต่อ
15 กรกฎาคม 2568 16 ครั้ง ผื่นกุหลาบเป็นอาการทางผิวหนังชนิดหนึ่งที่พบบ่อย อาจมีสาเหตุจากการติดเชื้อไวรัส ส่งผลให้ผู้ป่วยมีผื่นขึ้นในลักษณะเป็นวงกว้างสีชมพู อ่านต่อ
23 ส.ค. 64 3,989 ครั้ง วัยเก๋าหลายคนใส่หน้ากากอนามัย และใช้เจลแอลกอฮอล์เมื่อเดินทางไปทำธุระภายนอก ขณะกักตัวอยู่บ้านก็พยายามดูแลตัวเองด้วยการออกกำลังกายอยู่เสมอ แต่นั่นก็อาจไม่พอสำหรับการป้องกันโรค COVID-19 จึงขอแนะนำสิ่งที่อาจเป็นแหล่งสะสมของไวรัส แต่คนส่วนใหญ่อาจไม่เคยนึกถึงมาก่อน มีอะไรบ้าง ไปดูกันเลย
19 ส.ค. 64 4,019 ครั้ง คันผิวหนังทั่วร่างกาย ด้วยอาการแพ้ หรือผื่นแดง หากไม่ใช่อาการที่เกิดจากโรคผิวหนัง เช่น ลมพิษ กลากเกลื้อน เชื้อราบนผิวหนัง โรคสะเก็ดเงิน ฯลฯ อาจเกิดจากร่างกายกำลังส่งสัญญาณของโรคมะเร็ง โรคไต โรคตับ ปัญหาเกี่ยวกับระบบประสาท ติดเชื้อ ความไม่ปกติของเลือดและต่อมไร้ท่อ หรืออาจ เกิดจากผลข้างเคียงของการรักษาด้วยยาก็ได้
19 ส.ค. 64 9,403 ครั้ง จมูกเป็นอวัยวะสำคัญในระบบทางเดินหายใจ หากมีอาการผิดปกติอย่านิ่งนอนใจ เพราะอาจทำให้เกิดปัญหากับระบบทางเดินหายใจแบบเรื้อรังได้นะคะ โดยโรคเกี่ยวกับจมูกมีอะไรบ้าง?
16 ส.ค. 64 8,072 ครั้ง การยืดเหยียดร่างกายเป็นการออกกำลังกายที่ทำได้ง่าย ใช้เวลาน้อย สามารถปฏิบัติได้ทุกเพศ ทุกวัย เมื่อรู้สึกเหนื่อยล้า หรือเมื่อมีเวลาว่างเล็กน้อยจากการทำงาน ซึ่งจะทำให้ร่างกายกระปรี้กระเปร่า ไม่เฉื่อยชา การยืดเหยียดช่วยให้กล้ามเนื้อเตรียมพร้อมสำหรับการเคลื่อนไหว ประกอบกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน
11 ส.ค. 64 7,213 ครั้ง เคยเป็นไหม ง่วงแต่ก็นอนไม่หลับ หรืออยากจะหลับ แต่ก็ข่มตาไม่ลงสักที เพราะร่างกายของคนเราต้องนอนหลับอย่างน้อยวันละ 7-8 ชั่วโมงต่อวัน หรือประมาณ 1 ใน 3 ของชีวิต การนอนหลับสนิทจะช่วยให้ร่างกายได้พักผ่อนและซ่อมแซมส่วนต่างๆ แต่ปัญหาที่ผู้สูงอายุ มักเจอกันบ่อยๆ คือพยายามนอนแค่ไหนก็นอนไม่หลับ
11 ส.ค. 64 6,371 ครั้ง ‘โรคซึมเศร้า’ เป็นโรคทางจิตเวชที่มีมานานแล้ว และเกิดได้กับคนทุกเพศทุกวัย โดยผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่มีโอกาสเกิดโรคซึมเศร้าได้มากกว่าวัยอื่น แต่สังคมไทยเพิ่งจะมาให้ความสำคัญกับโรคนี้เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา ซึ่งคนส่วนใหญ่มักจะเข้าใจว่า โรคซึมเศร้าเป็นอารมณ์ความรู้สึกที่เกิดจากการความผิดหวังหรือสูญเสียเท่านั้น ไม่ได้มองว่าเป็นโรคร้ายแรง โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุที่เกิดมาในยุคที่ยังไม่มีการพูดถึงโรคซึมเศร้ามากเท่าในปัจจุบัน
11 ส.ค. 64 80,321 ครั้ง ‘ลิ้น’ นอกจากจะเป็นอวัยวะสำคัญที่มีหน้าที่ในการเคี้ยวและกลืนอาหาร รวมถึงใช้ในการพูดและการออกเสียงต่าง ๆ แล้ว ลิ้นยังสามารถส่งสัญญาณเตือนเกี่ยวกับสุขภาพร่างกายของเราได้อีกด้วย
11 ส.ค. 64 5,001 ครั้ง แน่นอนในช่วงเวลานี้ คงไม่มีวัคซีนไหนเป็นที่ต้องการไปมากกว่าวัคซีนป้องกันไวัรสโควิด-19 อีกแล้ว ยิ่งในกลุ่ม ผู้สูงอายุ ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อง่ายกว่ากลุ่มอื่น เนื่องจากภูมิคุ้มกันที่ลดลงตามวัย แต่รู้ไหมว่า นอกจากวัคซีนที่พวกเรากำลังรอคอยอยู่นั้น ยังมีอีก 4 วัคซีนจำเป็นที่ ผู้สูงอายุ ควรรู้จักและฉีดป้องกันไว้เพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อต่างๆ และสร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย
10 ส.ค. 64 3,785 ครั้ง โควิด-19 กลับมาแล้ว! ยกการ์ดสูงกับ 5 สิ่งที่สว. ต้องทำ อย่างที่ทราบกันดีว่า ตอนนี้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 กลับมารุนแรงอีกครั้งหนึ่งแล้ว โดยกลุ่มที่ต้องได้รับการดูแลและต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ คงหนีไม่พ้นกลุ่ม ผู้สูงอายุซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยง เพราะมีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายที่สุด
10 ส.ค. 64 5,027 ครั้ง การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ไม่เพียงส่งผลกระทบเชิงกายภาพเท่านั้น แต่ยังรวมถึงสภาพจิตใจที่ต้องคอยรับแรงกดดันมากมายจากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอีกด้วย จึงไม่แปลกที่หลายคนจะเกิดความเครียดหรือความวิตกกังวลต่อสถานการณ์ดังกล่าว
10 ส.ค. 64 4,956 ครั้ง ...ไวรัสก็กลัวติด แต่ชีวิตก็ต้องไปต่อ... ตอนนี้ ไม่ว่าจะมองไปทางไหน ก็เห็นแต่ภาพของผู้คนที่พยายามเอาตัวรอดจากวิกฤตโรคระบาด Covid – 19 ซึ่งส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมไปถึงคนทุกเชื้อชาติ ทุกชนชั้น ทุกเพศ ทุกวัย จนไม่ว่าใครก็เกิดอาการ “เครียด” ไปตาม ๆ กัน แต่ทราบหรือไม่ว่า คนวัยไหนกำลังโดนทำร้ายสุขภาพใจจาก “ความเครียด” มากที่สุด
05 ส.ค. 64 7,212 ครั้ง คนเราทุกคนล้วนแต่อยากให้ตัวเองมีความสุขประสบความสำเร็จและ สามารถทำสิ่งต่าง ๆ ได้มีประสิทธิภาพเป็นอย่างดี แม้จะมีข้อจำกัดเรื่องสถานที่ การทำงาน และระยะทาง รวมทั้งไม่สามารถผ่อนคลายด้วยกิจกรรมที่เคยทำ ไม่สามารถไปกินข้าวร่วมกันได้ แต่ข้อดีของการทำงานแบบทางไกลก็มีอยู่มาก และมีหลายวิธีที่ท่านสามารถทำได้ เพื่อสร้างแรงจูงใจด้วยตนเอง
31 ก.ค. 64 4,946 ครั้ง หลายคนอาจมองว่า ช่วงโควิด-19 เป็นช่วงเวลาดีที่จะได้ใช้ชีวิตอยู่บ้านและใช้เวลากับครอบครัวให้มากขึ้น แต่ความจริงที่เกิดขึ้นในหลายประเทศทั่วโลกในช่วงการระบาดของเชื้อไวรัสนี้ กลับสร้างสถิติอันน่ากลัว ปรากฎว่ามีอัตราการหย่าร้างสูงขึ้นและมีการใช้ความรุนแรงในครอบครัวเพิ่มมากขึ้นด้วย
31 ก.ค. 64 4,541 ครั้ง ฆ่าเชื้อเมื่อ สัมผัส ผู้ป่วย ควรคอยทำความสะอาด ของที่มีการสัมผัสรว่มกนั หลงัมกีารหยบิจบั เชน่ ลกูบดิประตู สวติชไ์ฟ เพอ่ืไมใ่ห้คนอื่นที่มาใช้ต่อ เสี่ยงรับเชื้อ
31 ก.ค. 64 4,111 ครั้ง การแยกกักตัวที่บ้าน ผ่านระบบติดตามดูแลอาการ ทางเลือกในการรักษาผู้ป่วยโควิดอาการ ไม่รุนแรงหรืออยู่โรงพยาบาลมาแล้วอย่างน้อย 7-10 วัน สามารถกลับไปพักฟื้นที่บ้านต่อ โดยต้องผ่านความยินยอมของหมอและ ความสมัครใจของผู้ป่วย
30 ก.ค. 64 4,329 ครั้ง ในช่วงของการแยกกักตัวสำหรับผู้ป่วยโควิด-19 ที่เข้าสู่ Home Isolation การคัดแยกขยะติดเชื้อเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ต้องให้ความสำคัญ และปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อไปสู่คนในบ้าน