ขอเชิญร่วมงาน “มหกรรมรวมพลังเยาวชนเพื่อสันติภาพ”

(ร่าง) โครงการ การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
เรื่อง “บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเยาวชนในการสร้างวัฒนธรรมแห่งสันติภาพ”
และการสถาปนา
สหพันธ์เยาวชนและนักศึกษานานาชาติเพื่อสันติภาพ ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิค
โดย
มูลนิธิสหพันธ์สันติภาพสากล (ประเทศไทย),
มูลนิธิสหพันธ์ครอบครัวเพื่อความสามัคคีและสันติภาพโลก (ประเทศไทย),
สหพันธ์เยาวชนคนหนุ่มสาวเพื่อสันติภาพโลก และ สมาคมสหพันธ์สตรีเพื่อสันติภาพโลก (ประเทศไทย)
1. ชื่อโครงการ
การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ เรื่อง “บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเยาวชนในการสร้างวัฒนธรรมแห่งสันติภาพที่ยั่งยืน”
2. หลักการและเหตุผล
2.1 ผู้ก่อตั้งสหพันธ์สันติภาพสากล ได้กล่าวว่า “ปัญหาที่สาคัญที่สุดของสังคมในปัจจุบันคือปัญหาของเยาวชนและปัญหาครอบครัวแตกแยก ดังคากล่าวที่ว่า “การป้องกันดีกว่าการเยียวยารักษา สิ่งนี้หมายถึงการป้องกันก่อนที่จะเกิดปัญหานั้นง่ายกว่าการฟื้นฟูแก้ไขสิ่งที่เกิดขึ้นหลังจากที่เกิดปัญหาแล้ว
2.2 นักวิชาการให้การยอมรับว่า “รากฐานของครอบครัวมีผลต่อการดาเนินชีวิตของเด็ก.. ซึ่งความสมบูรณ์และสภาพแวดล้อมของครอบครัวที่ให้การอบรมเลี้ยงดูเยาวชนมีความเป็นไปได้ในการส่งเสริมความเป็นเลิศในการศึกษา สุขภาพ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การปฏิบัติตนตามแนวทางคาสอนของศาสนา แต่การที่ครอบครัวแตกแยกนั้นจะสร้างความรู้สึกปฏิเสธที่สามารถส่งผลต่อการเติบโตอย่างเหมาะสม
2.3 ในการสร้างวัฒนธรรมแห่งสันติภาพอย่างยั่งยืน เยาวชนจะต้องมีประสบการณ์ตรงโดยการมีส่วนร่วมแสดงออกไม่ใช่เป็นเพียงแค่ผู้ชมเท่านั้น
3. วัตถุประสงค์
3.1 เพื่อสนับสนุนการทางานขององค์การสหประชาชาติ ในการกาหนดบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเยาวชนและนักศึกษาในการมีส่วนร่วมเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ และสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลด้านการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในเด็กและเยาวชน
3.2 เพื่อปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรม เรื่อง ความกตัญญูและความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ในเยาวชน
3.3 เพื่อสร้างและขยายเครือข่ายการทางานแบบบูรณาการร่วมกันอย่างยั่งยืน ภายใต้ชื่อ สหพันธ์เยาวชนและนักศึกษานานาชาติเพื่อสันติภาพ โดยเป็นการบูรณาการการทางานร่วมกันอย่างยั่งยืนระหว่าง ภาครัฐบาล ภาคเอกชน องค์กรศาสนา นักการศึกษาและวิชาการ และ ภาคประชาสังคม โดยเยาวชนมีส่วนร่วม
4. กลุ่มเป้าหมาย
4.1 ตัวแทนหน่วยงานภาครัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการกาหนดนโยบายด้านการศึกษาและการพัฒนาเด็กและเยาวชน
4.2 นักการศึกษา นักวิชาการ นักวิจัย ที่ปรึกษา และผู้ทางานด้านการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม
4.3 ผู้บริหารสถาบันการศึกษา อาทิ อธิการบดี รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา ระดับมหาวิทยาลัย ผู้อานวยการและรองผู้อานวยการโรงเรียน ระดับอาชีวศึกษาและระดับมัธยมศึกษา
4.4 ตัวแทนผู้นาเยาวชนจากสถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัย วิทยาลัย และโรงเรียนต่าง ๆ
5. รูปแบบการจัดกิจกรรม
5.1 การประชุมเชิงวิชาการและการอภิปราย ณ ห้องประชุม UNESCAP ศูนย์ประชุมแห่งสหประชาชาติ (UNCC) ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
5.1.1 เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติ และให้ความสาคัญต่อเยาวชน ด้วยการเชิญผู้ร่วมงานกิตติมศักดิ์และมีชื่อเสียงให้การแสดงปาฐกถา และการมอบทุนการศึกษา ในช่วงพิธีเปิดงาน
5.1.2 ช่วงการอภิปรายโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ในหัวข้อ เกี่ยวกับการบทบาทหน้าที่ของเยาวชนในการสร้างสันติภาพที่ยั่งยืน และ การเน้นย้าถึงคุณค่าและความสาคัญของการแต่งงานและครอบครัวซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่จะส่งผลต่อความสาเร็จในอนาคตของเยาวชน
5.1.3 ช่วงการมีส่วนร่วมของเยาวชนในการอภิปราย แสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเยาวชนในการสร้างวัฒนธรรมแห่งสันติภาพที่ยั่งยืน โดยตัวแทนเยาวชนที่มาร่วมงาน
5.2 เข้าร่วมงาน มหกรรมรวมพลังเยาวเพื่อสันติภาพ “รักบริสุทธิ์ หยุดปัญหา พัฒนาสังคม” ในวันที่ 13 มิถุนายน 2560 ณ อิมแพค อารีน่า เมืองทองธานี พร้อมทั้งรับชมการแสดงของคณะเยาวชนนาฎศิลป์พื้นบ้านเกาหลี เดอะลิตเติ้ลแองเจิลส์ (The Little Angels) ที่มีชื่อเสียงระดับโลก
3
6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
6.1 ผู้เข้าร่วมงานได้รับแนวคิด วิสัยทัศน์ในการบูรณาการการทางานร่วมกันอย่างยั่งยืนระหว่าง ภาครัฐบาล ภาคเอกชน องค์กรศาสนา นักการศึกษาและวิชาการ และ ภาคประชาสังคม ในการกาหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาและการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมของเยาวชนและนักศึกษา โดยเน้นให้เยาวชนมีความตระหนักในคุณค่าของความรักที่บริสุทธิ์ สถาบันครอบครัว จิตสาธารณะ ความกตัญญูต่อพ่อแม่ บุพการี และต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
6.2 เกิดเครือข่ายการทางานแบบบูรณาการร่วมกัน ภายใต้ เครือข่ายเยาวชนและนักศึกษาเพื่อสันติภาพ
6.3 ผู้เข้าร่วมได้รับแนวคิดสาหรับการริเริ่มโครงการเพื่อการสร้างสันติภาพอย่างยั่งยืนด้วยการขยายความร่วมมือออกไปทั้งในระดับประเทศ และระดับนานาชาติ

(ร่าง) โครงการ การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

เรื่อง “บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเยาวชนในการสร้างวัฒนธรรมแห่งสันติภาพ”

และการสถาปนาสหพันธ์เยาวชนและนักศึกษานานาชาติเพื่อสันติภาพ ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิค

โดย

มูลนิธิสหพันธ์สันติภาพสากล (ประเทศไทย),

มูลนิธิสหพันธ์ครอบครัวเพื่อความสามัคคีและสันติภาพโลก (ประเทศไทย),

สหพันธ์เยาวชนคนหนุ่มสาวเพื่อสันติภาพโลก และ สมาคมสหพันธ์สตรีเพื่อสันติภาพโลก (ประเทศไทย)

1. ชื่อโครงการ

การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ เรื่อง “บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเยาวชนในการสร้างวัฒนธรรมแห่งสันติภาพที่ยั่งยืน”

2. หลักการและเหตุผล

2.1 ผู้ก่อตั้งสหพันธ์สันติภาพสากล ได้กล่าวว่า “ปัญหาที่สาคัญที่สุดของสังคมในปัจจุบันคือปัญหาของเยาวชนและปัญหาครอบครัวแตกแยก ดังคากล่าวที่ว่า “การป้องกันดีกว่าการเยียวยารักษา สิ่งนี้หมายถึงการป้องกันก่อนที่จะเกิดปัญหานั้นง่ายกว่าการฟื้นฟูแก้ไขสิ่งที่เกิดขึ้นหลังจากที่เกิดปัญหาแล้ว

2.2 นักวิชาการให้การยอมรับว่า “รากฐานของครอบครัวมีผลต่อการดาเนินชีวิตของเด็ก.. ซึ่งความสมบูรณ์และสภาพแวดล้อมของครอบครัวที่ให้การอบรมเลี้ยงดูเยาวชนมีความเป็นไปได้ในการส่งเสริมความเป็นเลิศในการศึกษา สุขภาพ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การปฏิบัติตนตามแนวทางคาสอนของศาสนา แต่การที่ครอบครัวแตกแยกนั้นจะสร้างความรู้สึกปฏิเสธที่สามารถส่งผลต่อการเติบโตอย่างเหมาะสม

2.3 ในการสร้างวัฒนธรรมแห่งสันติภาพอย่างยั่งยืน เยาวชนจะต้องมีประสบการณ์ตรงโดยการมีส่วนร่วมแสดงออกไม่ใช่เป็นเพียงแค่ผู้ชมเท่านั้น

3. วัตถุประสงค์

3.1 เพื่อสนับสนุนการทางานขององค์การสหประชาชาติ ในการกาหนดบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเยาวชนและนักศึกษาในการมีส่วนร่วมเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ และสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลด้านการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในเด็กและเยาวชน

3.2 เพื่อปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรม เรื่อง ความกตัญญูและความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ในเยาวชน

3.3 เพื่อสร้างและขยายเครือข่ายการทางานแบบบูรณาการร่วมกันอย่างยั่งยืน ภายใต้ชื่อ สหพันธ์เยาวชนและนักศึกษานานาชาติเพื่อสันติภาพ โดยเป็นการบูรณาการการทางานร่วมกันอย่างยั่งยืนระหว่าง ภาครัฐบาล ภาคเอกชน องค์กรศาสนา นักการศึกษาและวิชาการ และ ภาคประชาสังคม โดยเยาวชนมีส่วนร่วม

4. กลุ่มเป้าหมาย

4.1 ตัวแทนหน่วยงานภาครัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการกาหนดนโยบายด้านการศึกษาและการพัฒนาเด็กและเยาวชน

4.2 นักการศึกษา นักวิชาการ นักวิจัย ที่ปรึกษา และผู้ทางานด้านการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม

4.3 ผู้บริหารสถาบันการศึกษา อาทิ อธิการบดี รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา ระดับมหาวิทยาลัย ผู้อานวยการและรองผู้อานวยการโรงเรียน ระดับอาชีวศึกษาและระดับมัธยมศึกษา

4.4 ตัวแทนผู้นาเยาวชนจากสถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัย วิทยาลัย และโรงเรียนต่าง ๆ

5. รูปแบบการจัดกิจกรรม

5.1 การประชุมเชิงวิชาการและการอภิปราย ณ ห้องประชุม UNESCAP ศูนย์ประชุมแห่งสหประชาชาติ (UNCC) ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ

5.1.1 เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติ และให้ความสาคัญต่อเยาวชน ด้วยการเชิญผู้ร่วมงานกิตติมศักดิ์และมีชื่อเสียงให้การแสดงปาฐกถา และการมอบทุนการศึกษา ในช่วงพิธีเปิดงาน

5.1.2 ช่วงการอภิปรายโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ในหัวข้อ เกี่ยวกับการบทบาทหน้าที่ของเยาวชนในการสร้างสันติภาพที่ยั่งยืน และ การเน้นย้าถึงคุณค่าและความสาคัญของการแต่งงานและครอบครัวซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่จะส่งผลต่อความสาเร็จในอนาคตของเยาวชน

5.1.3 ช่วงการมีส่วนร่วมของเยาวชนในการอภิปราย แสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเยาวชนในการสร้างวัฒนธรรมแห่งสันติภาพที่ยั่งยืน โดยตัวแทนเยาวชนที่มาร่วมงาน

5.2 เข้าร่วมงาน มหกรรมรวมพลังเยาวเพื่อสันติภาพ “รักบริสุทธิ์ หยุดปัญหา พัฒนาสังคม” ในวันที่ 13 มิถุนายน 2560 ณ อิมแพค อารีน่า เมืองทองธานี พร้อมทั้งรับชมการแสดงของคณะเยาวชนนาฎศิลป์พื้นบ้านเกาหลี เดอะลิตเติ้ลแองเจิลส์ (The Little Angels) ที่มีชื่อเสียงระดับโลก

6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

6.1 ผู้เข้าร่วมงานได้รับแนวคิด วิสัยทัศน์ในการบูรณาการการทางานร่วมกันอย่างยั่งยืนระหว่าง ภาครัฐบาล ภาคเอกชน องค์กรศาสนา นักการศึกษาและวิชาการ และ ภาคประชาสังคม ในการกาหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาและการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมของเยาวชนและนักศึกษา โดยเน้นให้เยาวชนมีความตระหนักในคุณค่าของความรักที่บริสุทธิ์ สถาบันครอบครัว จิตสาธารณะ ความกตัญญูต่อพ่อแม่ บุพการี และต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์

6.2 เกิดเครือข่ายการทางานแบบบูรณาการร่วมกัน ภายใต้ เครือข่ายเยาวชนและนักศึกษาเพื่อสันติภาพ

6.3 ผู้เข้าร่วมได้รับแนวคิดสาหรับการริเริ่มโครงการเพื่อการสร้างสันติภาพอย่างยั่งยืนด้วยการขยายความร่วมมือออกไปทั้งในระดับประเทศ และระดับนานาชาติ

ที่มา : มูลนิธิสหพันธ์สันติภาพสากล (ประเทศไทย)

Shares:
QR Code :
QR Code

ใส่ความเห็น

ระบุข้อความ