31 ส.ค. 65 858 ครั้ง สสส.-เครือข่ายลดบริโภคเค็ม-WHO หนุน 4 มาตรการ “ลดการบริโภคเกลือโซเดียม” ดึง ผู้ประกอบการปรับสูตรอาหาร-กำหนดนโยบายจัดซื้ออาหารอ่อนเค็มในองค์กร-ติดฉลากคำเตือน/สัญลักษณ์สี- สื่อสารสร้างความตระหนักรู้ ช่วยคนไทยปรับพฤติกรรมการกิน มุ่งเป้าลดกินเค็มลง 30% ลดเสี่ยงป่วย-ตายจากโรค NCDs ภายในปี 2568
09 มี.ค. 65 1,952 ครั้ง ชูนวัตกรรมสู่แนวปฏิบัติลดเค็มสำหรับโรคความดันโลหิตสูงและโรคไต เปิดทางเลือกสารทดแทนเกลือโซเดียมคลอไรด์แบบใหม่ สารสกัดจากยีสต์ เกลือสาหร่าย เครื่องตรวจวัดความเค็มในอาหาร ราคาถูกใช้ง่าย ปรับลิ้นลดเค็ม สสส. หนุนปรับสูตรลดโซเดียม ชวนคนไทยหันมานิยมอาหารโซเดียมต่ำ เข้าถึงง่าย
11 มิ.ย. 64 4,923 ครั้ง โรคไต เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติที่บริเวณไตที่พบมาก คือ โรคไตวายเฉียบพลัน ไตวายเรื้อรังจากโรคเบาหวาน หรือโรคความดันโลหิตสูง โรคไตอักเสบจากโรคเเอลเอสอี โรคถุงน้ำดีที่ไต เเละโรคนิ่ว
09 มิ.ย. 64 1,686 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เตือนคนไทยที่ได้รับข้อมูลจากสื่อโซเชียล เรื่องการนำแตงโม ต้มน้ำตาลมากินเพื่อรักษาโรคไต ไม่ใช่เรื่องจริง หากกินเยอะเกินไป เสี่ยงเป็นโรคอ้วน เบาหวาน และฟันผุได้ แนะนำหากเป็นโรคไตควรปรึกษาแพทย์ และควบคุมอาหารให้เหมาะกับร่างกาย
16 ก.พ. 64 3,586 ครั้ง จากผลงานวิจัยล่าสุดในปี 2564 ซึ่ง ได้รับการพิมพ์ในวารสาร Journal of Clinical Hyper tension โดยความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ตีแผ่พฤติกรรมคนไทยบริโภคโซเดียม (เกลือ) เฉลี่ยสูงที่สุดในภาคใต้, ภาคกลาง, ภาคเหนือ, กรุงเทพฯ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยค่าปริมาณการบริโภคโซเดียมเฉลี่ยประชาชนไทยเท่ากับ 3,636 มิลลิกรัมต่อวันหรือเท่ากับเกลือถึง 1.8 ช้อนชา ขณะที่องค์การอนามัยโลกแนะนำให้บริโภคโซเดียมไม่เกินวันละ 2,000 มิลลิกรัม
10 ก.พ. 64 4,330 ครั้ง ในขณะที่คนทั้งโลกโฟกัสกับโรคระบาดแห่งศตวรรษอย่าง "โควิด-19" ที่ต้องแก้ไขวิกฤตอย่างเร่งด่วน ทว่า ยังมีโรคภัยอีกมากมายที่บ่อนทำลายคุณภาพชีวิต สร้างความทุกข์ทรมานทั้งกายใจ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และคงเป็นเช่นนี้ต่อไปในอนาคตหากไม่ปรับเปลี่ยนซึ่งพฤติกรรมบางประการ หนึ่งในนั้นคือ "โรคไต"อย่างที่ทราบกันดีว่า รสเค็ม รวมถึง "รสจัด" อื่นๆ ทั้งเปรี้ยว หวาน มัน คือศัตรูตัวฉกาจ นำมาซึ่งโรคดังกล่าว
30 มิ.ย. 63 4,358 ครั้ง การบริโภคเกลือในปริมาณมากเกินพอดีจะส่งผลให้เกิดภาวะความดันโลหิตสูง โดยโรคความดันโลหิตสูงหากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องจะทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนตามมา เช่น หัวใจวาย อัมพาต และความเสื่อมของไตนำที่นำไปสู่ภาวะไตวาย ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของคนจำนวนมากทั่วโลกในแต่ละปี มีงานวิจัยหลายชิ้นที่แสดงให้เห็นว่าการบริโภคอาหารที่มีโซเดียมต่ำ สามารถจะลดระดับความดันโลหิตลงได้ ด้วยเหตุนี้องค์การอนามัยโลก (WHO) จึงมีการรณรงค์ให้ลดการรับประทานอาหารรสเค็มเพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงการป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง
10 พ.ค. 62 2,878 ครั้ง แต่ละปีประเทศเรายังคงต้อง สูญเสียรายจ่ายทางสุขภาพกว่า 99,000 ล้านบาท ให้กับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)
29 เม.ย. 62 3,194 ครั้ง "แนวทางลดพฤติกรรมติดเค็มของคนไทย"เนื่องจากคนไทยเจ็บป่วยจาก "กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non - Communicable Diseases : NCDs)" เป็นจำนวนมาก และ "ความเค็ม" ก็เป็นสาเหตุของบางโรค
25 เม.ย. 62 3,856 ครั้ง ปัจจุบันคนไทยกินเค็มเกิน 2 เท่า (โซเดียมเฉลี่ยที่คนไทยกิน 4,352 มิลลิกรัม/วัน)
24 เม.ย. 62 1,678 ครั้ง แพทย์ห่วง 'สตรีทฟู้ด' ทำคนไทยกินเค็มเกิน แนะติดคำเตือนฉลากเครื่องปรุง-ดึง อปท. ร่วมตรวจสอบ
26 มี.ค. 62 2,516 ครั้ง สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย ร่วมกับ กระทรวงสาธารณสุข, เครือข่ายลดบริโภคเค็ม, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.), มูลนิธิโรคไตแห่งประเทศไทย, องค์การเภสัชกรรม และสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักถึงการบริโภคลดเค็มของคนไทย จัดกิจกรรมวันไตโลก ปี 2562
20 มี.ค. 62 4,293 ครั้ง การสื่อสารที่อยากให้พิชิตใจถึงตรงกลุ่มเป้าหมาย บางครั้งก็อาจไม่ต้องคิดเติมไอเดียอะไรยุ่งยาก แต่กลายเป็นเรื่องธรรมดา สื่อสารออกมาให้เข้าใจง่ายๆ อาจด้วยภาพ และยิ่งถ้าทำให้เกิดความประทับใจและเป็นภาพจำ ก็สามารถนำคอนเซ็ปต์เหล่านี้ไปใช้ต่อยอดได้
11 มี.ค. 62 2,884 ครั้ง คนไทยเป็นโรคไตเรื้อรังกันมากขึ้น ข้อมูลจากการศึกษาจากสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย พบว่าคนไทยป่วยเป็น โรคไตเรื้อรัง ประมาณร้อยละ 17.6 ของประชากร หรือประมาณ 8-10 ล้านราย มีผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดทดแทนไตประมาณ 1,439 รายต่อล้านประชากร และมีแนวโน้มเป็นมากขึ้นทุกปีๆ
04 มี.ค. 62 2,189 ครั้ง "NCDs (Non-Communicable diseases)" แปลเป็นภาษาไทยได้ว่า "กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง" หมายถึง โรคที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ ไม่สามารถติดต่อไปสู่ผู้อื่นได้ แต่ทำให้สภาพร่างกายแย่ลง โดยมีสาเหตุมาจากการใช้ชีวิตที่มีปัญหา เช่น ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่