28 เม.ย. 64 2,098 ครั้ง จากการสังเกตผู้เสียชีวิต จากการระบาดของโควิด 19 ระลอกใหม่ พบว่า ปัจจัยเสี่ยงส่วนใหญ่ ได้แก่ "โรคอ้วน" รวมถึงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ซึ่งอยู่ใน กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) หลายรายเป็นผู้ที่มี "อายุน้อย" ภาพรวมในระลอกเดือนเม.ย. พบผู้เสียชีวิตมีอายุเฉลี่ย 29 ปี ต่างจาก การระบาดระลอกที่ผ่านมาซึ่งผู้เสียชีวิต ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว
13 ม.ค. 64 3,306 ครั้ง เปิดเผยกรณีมีผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19 เสียชีวิตในพื้นที่ กทม.หลังเข้ารับการรักษาได้เพียง 2 วัน โดยประเด็นการเสียชีวิตดังกล่าวทำให้เกิดความตื่นตัวในเรื่องอาการและความรุนแรงของโรค โดยเฉพาะผู้เสียชีวิตดังกล่าวเป็นกลุ่มเสี่ยงเพราะมีภาวะอ้วน และมีอาการไข้มาหลายวัน แต่ไม่ได้มาพบแพทย์แต่แรก กระทั่งมีอาการหายใจหอบเหนื่อยร่วมด้วย ทำให้อาการของโรครุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต ทั้งนี้ ด้วยความห่วงใย จึงย้ำให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสังเกตอาการตัวเองใกล้ชิด หากมีอาการไข้ ไอ หรือมีน้ำมูก จมูกไม่ได้กลิ่น ลิ้นไม่รับรส ให้รีบพบแพทย์ พร้อมแจ้งข้อมูลจริง เปิดเผยประวัติการเดินทาง เพื่อเข้ารับการรักษาต่อไป
02 ก.ย. 63 3,839 ครั้ง ความดันโลหิตคือค่าที่วัดแรงดันในหลอดเลือดแดง โดยใช้เครื่องวัดซึ่งมีหลายแบบทั้งที่เป็นแบบปรอท แบบเข็มวัด และแบบอัตโนมัติ ค่าที่วัดได้มี 2 ค่า โดยเขียนเป็นตัวเลข 2 ตัว คั่นกลางด้วยเครื่องหมาย เศษส่วน เช่น 130/80 มิลลิเมตรปรอท ตัวเลขตัวแรก หรือตัวบนเป็นค่าความดันโลหิตระหว่างหัวใจบีบตัว (ความดันโลหิตซิสโตลิกส์) ส่วนตัวเลขตัวที่สอง หรือตัวล่างเป็นค่าความดันโลหิตระหว่างหัวใจ คลายตัว (ความดันโลหิตไดแอสโตลิกส์) ทั้งนี้จะต้อง วัดด้วยวิธีการที่ถูกต้อง กล่าวคือ ผู้ป่วยควรนั่งพัก อย่างน้อย 5 นาที วัดในท่านั่ง ใช้ผ้าพันแขนที่ได้มาตรฐาน และอยู่ในระดับเดียวกับหัวใจ
26 ส.ค. 62 5,946 ครั้ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เชิญชวนประชาชนตรวจสอบคุณภาพเครื่องวัดความดันโลหิตที่ใช้อยู่ได้ด้วยตัวเองที่สถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ใกล้บ้าน โดยประชาชนสามารถโหลดแอปพลิเคชัน BP Sure ตรวจสอบจุดบริการใกล้บ้าน เพื่อสร้างความมั่นใจในผลการวัด เพื่อดูแลสุขภาพของตนเอง และคนในครอบครัว
10 ก.ค. 62 19,686 ครั้ง ความดันในกะโหลกศีรษะแตกต่างจากความดัน โลหิตอย่างสิ้นเชิง และการจะทำการประเมินหรือวัดความดันในกะโหลกศีรษะนั้น มีขั้นตอนที่ซับซ้อนจึงจำเป็นต้องทำโดยประสาทศัลยแพทย์เท่านั้น ปกติแล้วความดันในกะโหลกศีรษะของมนุษย์จะอยู่ที่ 10 - 15 เซนติเมตรน้ำ แต่หากมีความผิดปกติ เช่น เกิดการอักเสบ ไม่ว่าจะเกิดจากการกระทบกระแทก การมีเลือดออกในสมอง การติดเชื้อ หรือการมีเนื้องอกในสมอง ก็ทำให้ความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มสูงขึ้น
21 พ.ค. 62 4,841 ครั้ง แพทย์แผนไทยแนะเสริมเกราะป้องกันโรคความดันโลหิตสูงด้วยพืชสมุนไพร ผักพื้นบ้าน ชูเมนูอาหารทำง่าย ยำตะไคร้ ป้องกันและลดภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องในวัน ความดันโลหิตสูงโลก
04 เม.ย. 62 7,308 ครั้ง ผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง (มากกว่า 140/90 mmHg) ควรมีกิจกรรมทางกาย อย่างสม่ำเสมอเพื่อลดความดันโลหิต
07 ก.พ. 62 27,139 ครั้ง โรคความดันโลหิตสูงหรือที่ทุกคนเรียกกันว่าความดันสูง ซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า กลุ่มโรค NCDs อย่าง มะเร็ง เบาหวาน ความดัน หัวใจ และอีกหลาย ๆ โรค
01 ก.พ. 62 3,314 ครั้ง พฤติกรรมติดเค็มคร่าชีวิตคนไทยกว่าปีละ 20,000 คน เพราะกินเค็มเกิน 2 เท่า สูงกว่าปริมาณที่องค์การอนามัยโลกแนะนำ
02 ม.ค. 62 53,783 ครั้ง เฉลี่ยแล้ว ทุกๆ 5 คนจะมีผู้ที่เป็นโรคความ ดันเลือดสูง 1 คน อายุยิ่งมาก ยิ่งมีโอกาสเป็นโรคความ ดันเลือดสูงมากขึ้นตาม ดังนั้น ผู้ที่อายุมากกว่า 35 ปี ทุกคนควรได้รับการตรวจวัดความดันเลือดอย่างน้อยปีละครั้ง
22 พ.ย. 61 3,781 ครั้ง องค์การอนามัยโลกแนะนำว่า คนธรรมดา ที่เป็นผู้ใหญ่ควรกินโซเดียมไม่เกินวันละ 2,000 มิลลิกรัม หรือหมายถึงการบริโภคเกลือแกงที่เราใช้ปรุงอาหารไม่เกิน 1 ช้อนชา แบ่งเป็น 3 มื้อหลัก มื้อละ 600 มิลลิกรัม และมื้อว่าง 200 มิลลิกรัม
22 ต.ค. 61 4,756 ครั้ง UN เสนอตั้งกก.กำกับทิศทาง NCDs นายกฯ นั่งประธาน `ฉัตรชัย` เผยรัฐพร้อมหนุนมาตรการป้องกัน
04 ต.ค. 61 13,034 ครั้ง กินเจแบบสุขภาพดี ทำอย่างไร? แล้วจะเลือกกินอย่างไรดีหากว่าเราอยากอิ่มทั้งบุญและอิ่มท้อง ไปพร้อมๆ กับการมีสุขภาพดี
25 ก.ย. 61 10,738 ครั้ง เตือน"หนานเฉาเหว่ย"แฝงภัย พบผู้ป่วยเบาหวานกินติดต่อหลายวันเกิดอาการเกือบหมดสติน้ำตาลในเลือดต่ำ
29 มิ.ย. 61 16,581 ครั้ง ผลลัพธ์ของวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง เริ่มสะท้อนผลลบให้เห็น ผ่านสุขภาพ คนไทย ที่กำลังเพิ่มสถิติโรคอ้วน (Obesity) และโรคที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง และภาวะไตวายเรื้อรัง เป็นต้น
23 เม.ย. 61 2,067 ครั้ง ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้นั่นคืออาหาร แกนนำที่ร่วมกันทำงานจึงเลือก ข้าวหลามธัญพืช กวนข้าวทิพย์ กระยาสารท ขนมจีนน้ำยาป่า มาถ่ายทอดให้คนรุ่นใหม่ในชุมชน และยังเป็นการส่งเสริมให้ชาวบ้านได้รู้จักตำรับอาหารเพื่อสุขภาพที่ถ่ายทอดโดยผู้สูงอายุบ้านเนินทรายอีกด้วย