04 ต.ค. 65 220 ครั้ง การกินเจ นอกจากจะเน้นการกินผักและละเว้นจากเนื้อสัตว์แล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่ควรต้องคำนึงถึงคือ เมนูอาหารเจที่มักมีความหวาน มัน เค็ม มากกว่าปกติ
30 ก.ย. 65 330 ครั้ง อย. ร่วมส่งเสริมเทศกาลกินเจ ตรวจสอบเฝ้าระวังคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหารเจในภาชนะบรรจุพร้อมจำหน่าย ผลตรวจไม่พบการปนเปื้อนดีเอ็นเอจากสัตว์พร้อมแนะวิธีล้างผักผลไม้ลดสารพิษตกค้าง
30 ก.ย. 65 342 ครั้ง WHO แจงตัวเลขประชากรทั่วโลกจำนวนกว่า 3 ล้านคน เสียชีวิตจากการบริโภคโซเดียมที่มากเกินจำเป็น สสส.-เครือข่าย ลดบริโภคเค็ม-WHO หนุน 4 มาตรการ "ลดการบริโภคเกลือโซเดียม" ดึงผู้ประกอบการปรับสูตรอาหาร-กำหนดนโยบายจัดซื้ออาหารอ่อนเค็มในองค์กร-ติดฉลากคำเตือน/สัญลักษณ์สี-สื่อสารสร้างความตระหนักรู้ ช่วยคนไทยปรับพฤติกรรมการกิน มุ่งเป้าลดกินเค็มลง 30% ลดเสี่ยงป่วย-ตายจากโรค NCDs ภายในปี 2568 มหาวิทยาลัยมหิดลผลิตเครื่องวัดความเค็มในอาหารแบบพกพา แผนเก็บภาษีความเค็มมีผลอีก 3 ปีข้างหน้า
30 ก.ย. 65 310 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะ 4 วิธีเลือกซื้ออาหารเจที่ปลอดภัย เน้นเมนูปรุงประกอบจากธัญพืช และถั่วเมล็ดแห้ง หลากหลายชนิด จะได้โปรตีนครบคุณค่าทางโภชนาการ
30 ก.ย. 65 382 ครั้ง โปรตีนเป็นสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย และมักโดนมองข้ามไปในช่วงกินเจ ซึ่งหากเราให้ความสำคัญกับการกินโปรตีนคุณภาพดีทดแทนเนื้อสัตว์ในช่วงกินเจ โดยเลือกวิธีการปรุงที่ดีต่อสุขภาพ เสริมด้วยการกินผักและธัญพืช จะช่วยลดปัญหาหิวบ่อย หิวง่าย ซึ่งทำให้เรากินบ่อยขึ้น และมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นในช่วงกินเจได้
26 ก.ย. 65 499 ครั้ง ปัจจุบันคนไทยกินเค็มเกินเกณฑ์ถึง 2 เท่า ยิ่งช่วงเทศกาลกินเจ เค็ม มัน โซเดียมเต็มไปหมด เสี่ยง NCDs อาจถึงขั้นตายก่อนวัยอันควร
26 ก.ย. 65 287 ครั้ง กรมควบคุมโรค ชวนคนไทยหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด ลดหวาน ลดมัน ลดเค็ม ในช่วงเทศกาลถือศีล กินเจ เน้นทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ รับประทานโปรตีนทดแทนจากถั่ว และทุกมื้อควรเพิ่มผักหรือผลไม้สด
25 ก.ย. 65 241 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะก่อนกินเจควรเตรียมพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ โดยปรับระบบของร่างกายก่อนกินเจ 2 – 3 วัน เพิ่มผักในมื้ออาหารให้มากขึ้น ลดเนื้อสัตว์ให้ร่างกายได้ปรับตัว
23 ก.ย. 65 752 ครั้ง อาหารเจมักมีรสเค็ม หรือปริมาณโซเดียมสูง หากร่างกายได้รับมากเกินไป เสี่ยงภาวะความดันโลหิตสูง โรคไต และอื่น ๆ
18 ต.ค. 64 1,847 ครั้ง ในช่วงกินเจติดต่อกันเป็นเวลา 9 วัน ส่งผลให้ร่างกายมีการปรับระบบการย่อยอาหารจากที่ย่อยเนื้อสัตว์มาเป็นพืชผักแทน เมื่อร่างกายต้องกลับมากินอาหารตามปกติ ผู้บริโภคจึงปรับสภาพร่างกายด้วยการกินอาหารที่ย่อยง่าย เช่น เนื้อปลา ไข่ นม ผักและผลไม้ กินให้หลากหลายครบ 5 หมู่ เลือกอาหาร รสไม่จัด ไม่หวาน มัน เค็ม เผ็ด เปรี้ยวมากจนเกินไป หลีกเลี่ยงอาหารประเภทเนื้อสัตว์สีแดง เช่น เนื้อวัว เนื้อหมู เพราะทำให้ย่อยยากในช่วงแรก จึงทำให้เกิดอาการท้องอืด จุกเสียด แน่นท้อง อาหารไม่ย่อยได้ สำหรับการดื่มนม แนะนำให้เริ่มดื่มนมวัวครั้งละน้อยๆ ประมาณครึ่งแก้ว และค่อยเพิ่มเป็นครั้งละ 1 แก้วได้ ในเวลาประมาณ 1-2 สัปดาห์
11 ต.ค. 64 1,810 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ชวนคนไทยเชื้อสายจีน หรือสายรักสุขภาพ กินเจปีนี้ เน้นเลือกกิน ‘ผัก-ผลไม้-สมุนไพร’ เลี่ยงการกินแป้งให้กินแต่พอดี และดื่มน้ำสะอาดให้เพียงพอ 6- 8 แก้วต่อวัน
21 ต.ค. 63 1,913 ครั้ง กินเจ ระวังเจอของปลอม สธ.แนะ 4 วิธีเลือกซื้ออาหารปลอดภัย เลือกซื้อจากร้านอาหารที่เข้าร่วมในเทศกาลกินเจ ลักษณะของสีและกลิ่นรวมถึงรสชาติที่ผิดแปลกไป เลือกซื้อจากร้านที่มีป้ายสัญลักษณ์อาหารสะอาด รสชาติอร่อย และเลือกบริโภคอาหารเจที่ปรุงประกอบจากอาหารแห้ง ธัญพืช และถั่วเมล็ดแห้ง
19 ต.ค. 63 2,395 ครั้ง เทศกาลกินเจ ระหว่างวันที่ 16-25 ตุลาคมนี้ จำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้บริโภคจะต้องมีความรู้และมีความเข้าใจหลักโภชนาการเพื่อให้ได้สุขภาพที่ดี
19 ต.ค. 63 1,438 ครั้ง เทศกาลกินเจประจำปี 2563 ได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 17-25 ต.ค. ทำให้ประชาชนบริโภคผักและผลไม้แทนการบริโภคเนื้อสัตว์มากขึ้น กรุงเทพมหานคร โดยสำนักอนามัย จึงได้มีหนังสือถึงผู้อำนวยการเขตทั้ง 50 เขต ขอความร่วมมือในการตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในช่วงเทศกาลดังกล่าวเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของสารเคมีในอาหารทั้งสารบอแรกซ์ ยาฆ่าแมลง สารฟอร์มาลิน สารกันรา(กรดชาลิซิลิค) และสารฟอกขาว ซึ่งสารเคมีต่างๆเหล่านี้จะแอบแฝงในผัก ผลไม้ อาหารสด อาหารแห้ง และอาหารแปรรูปที่นำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารเจ เพื่อความปลอดภัยในการบริโภคของประชาชน
02 ต.ค. 62 2,098 ครั้ง เปิดแล้วอย่างยิ่งใหญ่งาน“เทศกาลกินเจหาดใหญ่ประจำปี2562:กินเจถูกปากถูกใจถูกอนามัยไร้แอลกอฮอล์”ชูไฮไลท์แจกอาหารทานบุญเลี้ยงคนทั้งเมืองด้วยภาชนะปลอดโฟม100%ประชาชนและนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติเข้าร่วมงานคึกคัก