14 พ.ค. 64 5,114 ครั้ง การศึกษาเดิมของ CDC อเมริกา (The US Centers for Disease Control and Prevention) พบว่า ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความรุนแรงของการติดเชื้อโควิด-19 ได้แก่ สูงอายุ เพศชาย มีโรคเบาหวาน โรคอ้วนและโรคหัวใจ1 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นปัจจัยที่แก้ไขไม่ได้ แต่ปัจจัยหนึ่งซึ่งอาจจะช่วยลดความรุนแรงของการติดเชื้อโควิด-19 ได้ คือ การออกกำลังกาย
13 พ.ค. 64 6,380 ครั้ง ในช่วงนี้ที่ไทยต้องเผชิญกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด -19 หลายหน่วยงานอนุญาตให้พนักงานทำงานที่บ้าน เพื่อความปลอดภัยและหยุดการแพร่กระจายของโควิด-19 แต่ในขณะเดียวกันอาจส่งผลให้พฤติกรรมสุขภาพในการดำรงชีวิตประจำวันเปลี่ยนไป และอาจทำให้หลายคนเสี่ยงที่จะเป็นโรคกลุ่ม NCDs
13 พ.ค. 64 3,709 ครั้ง ในการแถลงข่าวไทยฟิตติดบ้านต้าน โควิด-19 ตอน "รอดไปด้วยกัน"ศ.เกียรติคุณ พญ.วรรณี นิธิยานันท์ ประธานเครือข่ายคนไทยไร้พุง และนายกสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย ให้ข้อมูลว่า การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด-19 ระลอกที่ 3 ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน-วันที่ 6 พฤษภาคม 2564 มีผู้ป่วยติดเชื้อมากถึง 47,948 คน เสียชีวิต 242 คน คิดเป็นร้อยละ 0.505 ซึ่งรุนแรงมากกว่า 2 ครั้งที่ผ่านมาหลายเท่าตัว และที่น่าตกใจคือ 3 ใน 4 ของผู้เสียชีวิตมีอายุ 60 ปีขึ้นไป ส่วนใหญ่อ้วน และมีโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคความดันสูง เบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคปอดเรื้อรัง โรคไต เมื่อติดเชื้อแล้วมีความเสี่ยงมีอาการรุนแรงและเสียชีวิตสูงเป็น 2 เท่าของคนทั่วไป ดังนั้น การดูแลสุขภาพในช่วงนี้เป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะการกักตัวอยู่แต่ในบ้าน หรือทำงานจากที่บ้าน สวมหน้ากากผ้า หน้ากากอนามัยเมื่อออกนอกบ้าน ล้างมือบ่อยๆ ใช้อุปกรณ์การกินส่วนตัว เว้นระยะห่างระหว่างกัน ไม่ไปในที่แออัด และต้องดูแลสุขภาพให้ร่างกายแข็งแรง ฉีดวัคซีนโควิด-19 เมื่อมีโอกาส