06 ก.พ. 62 8,149 ครั้ง แถลงข่าว "รวมพลังประกาศเจตนารมณ์ "แก้ปัญหาพฤติกรรมเด็กติดเค็ม" และการจัดงานกิจกรรมสัปดาห์วันไตโลกและสัปดาห์ลดการบริโภคเค็ม ประจำปี 2562
18 ธ.ค. 61 3,168 ครั้ง คนเชียงรายไตวายสูงรองจากกรุงเทพฯ เหตุพฤติกรรมกินแบบคนเมือง แถมซดหนานเฉาเหว่ย-ถั่งเช่า
06 ธ.ค. 61 5,016 ครั้ง แพทย์โรคไต เผยคนไทยกินเค็มสูงถึง 2 เท่า ส่งผลป่วยโรคไต 7.6 ล้านคน ความดัน 13 ล้านคน ชี้รัฐแบกภาระรายจ่ายสุขภาพถึงปีละ 1 แสนล้านบาท พบผู้มีรายได้น้อยป่วยสูงสุดถึง 70% เหตุไม่มีทางเลือก ย้ำสินค้าสุขภาพต้องถูกกว่าสินค้าทำลายสุขภาพ เผยมาตรการลดโซเดียมในอมริกา-แคนาดา ช่วยป้องกันผู้เสียชีวิตถึง 10% ขณะที่ประธานชมรมเพื่อนโรคไตหนุนสรรพสามิตจัดเก็บภาษีสินค้าที่มีโซเดียมสูง เหตุได้รับผลกระทบโดยตรงจากอาหารโซเดียมสูง ส่งผลไตวายตั้งแต่อายุยังน้อย ชี้หากปล่อยให้คนไทยกินเค็มต่อไปจะเป็นภาระทางสุขภาพของประชาชนและประเทศ
01 พ.ย. 61 25,830 ครั้ง อาหาร “หวาน มัน เค็ม” หนึ่งในสาเหตุหลักของการเกิดโรคร้าย ที่เรียกว่า “NCDs” (Non-Communicable Diseases) หรือกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งได้แก่ โรคเบาหวาน กลุ่มโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ โรคมะเร็ง โรคถุงลมโป่งพอง โรคความดันโลหิตสูง และโรคอ้วนลงพุงในปัจจุบัน กลุ่มโรคเหล่านี้คือสาเหตุหลักของการเสียชีวิตของคนไทย
12 ต.ค. 61 3,745 ครั้ง "เทศกาลกินเจ" ถือเป็นเทศกาลแห่งการลด ละการบริโภคเนื้อสัตว์ ซึ่งตามความเชื่อหลายคนมองว่าคือช่วงเวลาแห่งการสั่งสมบุญกุศล งดโอกาสในการฆ่าสัตว์ตัดชีวิตเพื่อนำมาบริโภค อีกทั้งยังเป็นช่วงเวลาที่หลายคนมองว่ามีโอกาสในการดูแลสุขภาพ เพราะเน้นการรับประทานผักผลไม้ซึ่งให้ประโยชน์เป็นหลัก
04 ต.ค. 61 13,436 ครั้ง กินเจแบบสุขภาพดี ทำอย่างไร? แล้วจะเลือกกินอย่างไรดีหากว่าเราอยากอิ่มทั้งบุญและอิ่มท้อง ไปพร้อมๆ กับการมีสุขภาพดี
23 ส.ค. 61 1,922 ครั้ง สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) นำเสนอนวัตกรรมผลงานวิจัย แอปพลิเคชั่นติดตามพัฒนาการเด็ก แบบประเมินโรคไตในผู้ป่วยเบาหวานต้นทุนต่ำ ฯลฯ ในงาน ประชุมวิชาการและมหกรรมการแสดงผลงาน 100 ปี การสาธารณสุขไทย ที่จัดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ ที่เมืองทองธานี
22 ส.ค. 61 3,058 ครั้ง การบริโภคอาหารที่มีรสเค็มบ่อยๆ หรือมากเกินกว่าที่ร่างกายต้องหาร ย่อมส่งผลเสียและเป็นที่มาของโรคร้ายต่างๆ อย่างไต ความดัน เป็นต้น
12 ส.ค. 61 26,229 ครั้ง “นั่นก็อร่อย โน่นก็ห๊อม หอม นี่คือความคิดฉันในเย็นวันหนึ่ง พลันสายตาก็หันซ้ายหันขวา หมูปิ้งกับข้าวเหนียวร้อนๆ นั่นก็ไส้กรอกทอดน้ำจิ้มรสเด็ด ถัดไปเป็นก๋วยเตี๋ยวน้ำซุปเข้มข้น โอ๊ยยย เลือกทานอะไรดีนะ น่ากินไปหมดเลย”
08 ส.ค. 61 5,072 ครั้ง ไตของเราโดยปกติจะทำงานตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อกรองของเสียและรักษาสมดุลของเกลือแร่ในร่างกาย นอกจากนี้ยังทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนบางชนิด เพื่อช่วยไขกระดูกในการสร้างเม็ดเลือดแดง ฮอร์โมนสำหรับควบคุมความดันโลหิต และฮอร์โมนเพื่อช่วยให้กระดูกแข็งแรง เมื่อไตทั้ง 2 ข้างทำงานได้น้อยกว่า 20% ผู้ป่วยจะรู้สึกเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เนื่องจากมีของเสียค้างอยู่ในร่างกาย และมีอาการบวมตามร่างกาย ปัจจุบันคนไทยป่วยด้วยโรคไตเรื้อรังประมาณ8 ล้านคน เป็นผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายประมาณ 100,000 คนที่ต้องได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม หรือล้างไตทางช่องท้อง
11 ก.ค. 61 15,329 ครั้ง ประกันสังคม เผย มิ.ย. 61 มีผู้ประกันตนขอใช้สิทธิรักษาบำบัดทดแทนไต 11,743 ราย จ่ายค่าประโยชน์ทดแทนไปแล้วกว่า 292 ล้านบาท เผย 4 สิทธิประโยชน์บำบัดทดแทนไต
09 ก.ค. 61 6,484 ครั้ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะ วิธีการกำจัดถุงล้างไตใช้แล้วอย่างถูกต้อง ลดปัญหาการเกิดมูลฝอยติดเชื้อ เพื่อความปลอดภัยของประชาชนในชุมชน
22 มิ.ย. 61 2,826 ครั้ง 6 องค์กรร่วมประกาศความสำเร็จ“10 ปี นโยบายล้างไตผ่านช่องท้อง”ช่วยผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายทั่วประเทศเข้าถึงการรักษา ลดอัตราตาย แถมมีคุณภาพชีวิตที่ดี เผยปัจจุบันมีผู้ป่วยล้างไตผ่านช่องท้องในระบบกว่า 2.4 หมื่นคน พร้อมมอบรางวัลเชิดชูเกียรติ“ผู้ริเริ่มนโยบายPD FIRST POLICY”
21 มิ.ย. 61 3,126 ครั้ง กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมควบคุมโรค กรมการแพทย์ และสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์ ร่วมถอดบทเรียนการดำเนินงานการลดและควบคุมโรคไตเรื้อรังใน 2 จังหวัด พบสถานบริการที่จัดการที่มีประสิทธิภาพ เตรียมขยายผลและนำ 4 ปัจจัยความสำเร็จสู่การปฏิบัติ หวังลดผลกระทบทุกระดับ ผู้ป่วยสะสมปัจจุบันกว่า 8 ล้านคน ตัวเลขย้อนหลัง 5 ปีมีผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดทดแทนไตเพิ่มอย่างต่อเนื่อง รัฐใช้เงินรักษากว่าปีละหมื่นล้านเพื่อรักษาผู้ป่วย
23 เม.ย. 61 2,482 ครั้ง ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้นั่นคืออาหาร แกนนำที่ร่วมกันทำงานจึงเลือก ข้าวหลามธัญพืช กวนข้าวทิพย์ กระยาสารท ขนมจีนน้ำยาป่า มาถ่ายทอดให้คนรุ่นใหม่ในชุมชน และยังเป็นการส่งเสริมให้ชาวบ้านได้รู้จักตำรับอาหารเพื่อสุขภาพที่ถ่ายทอดโดยผู้สูงอายุบ้านเนินทรายอีกด้วย
20 เม.ย. 61 5,324 ครั้ง นักโภชนาการ ชี้ปลาร้าเป็นแหล่งโปรตีนชั้นดีเทียบเท่าเนื้อสัตว์ต่างๆ แต่ต้องปรุงสุกและระวังอย่ากินซ้ำซากเพราะจะทำให้ไตทำงานหนัก และหากจะส่งออกต้องแปรรูปและได้มาตรฐาน