09 มิ.ย. 64 8,660 ครั้ง แม้จะเปลี่ยนมาเรียนออนไลน์ด้วยเหตุผลของสถานการณ์โควิด-19 ที่ยังคงระบาดอยู่ แต่ความเป็นครูที่เคยชินกับการสั่งให้นักเรียนนั่งลงและทำตัวเงียบๆ จะได้สอนทั้งชั้นอย่างมีประสิทธิภาพก็ไม่ได้ปรับเปลี่ยนตาม เพราะครูก็มักอยากเห็นนักเรียนนั่งเรียนกันอย่างพร้อมเพรียง
15 มี.ค. 64 3,354 ครั้ง ภาวะอ้วนในประเทศไทย พุ่งสูงขึ้นทุกๆปี และได้สูงขึ้นคู่ขนานไปพร้อมๆกับอัตราการเจ็บป่วยและเสียชีวิตของคนไทย อันเกิดจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือ NCDs ที่มาจากต้นเหตุของความอ้วน ทั้งๆที่กระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ระดมการรณรงค์ลดอ้วนลดพุง และ NCDs ติดต่อกันมานานนับสิบกว่าปี
09 มี.ค. 64 5,676 ครั้ง ไอเอฟ คีโต โยโย่เอฟเฟ็กต์... ล้วนเป็นคำศัพท์ที่เชื่อว่าหลายคนคุ้นหูเป็นอย่างดี และอาจจะเคยเสิร์ชหาข้อมูลความหมายว่าคืออะไร เพราะล้วนแล้วแต่เกี่ยวกับ "การลดน้ำหนัก" ซึ่งเป็นหัวข้อที่ทุกเพศทุกวัยให้ความสนใจ ทว่าการลดน้ำหนักสำหรับใครหลายคน กลับไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะแม้ว่าจะตั้งมั่นและตั้งใจมากี่ครั้ง ก็มักจะล้มเหลวอยู่เสมอ
08 มี.ค. 64 3,037 ครั้ง ธ.จับมือ ศธ.ปรับเกณฑ์เติบโตเด็กไทยชุดใหม่ พบอ้วนเกินร้อยละ 10 เตี้ยร้อยละ 5 เสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง วางเป้าหมาย 15 ปีข้างหน้า ชายวัย 19 ปี ต้องสูง 180 หญิง 170 ซม. กรมอนามัย ส่งมอบเกณฑ์ใหม่ให้เครือข่ายใช้ขับเคลื่อนดูแลเด็กวัยรุ่นให้โภชนา การดี สมส่วนมากขึ้น ลดปัญหาลงพุงทั่วประเทศ
04 มี.ค. 64 17,869 ครั้ง “ บอกซิเออ เธอจะเอาเท่าไหร่ เอาเท่าไร ไม่อ้วนเอาเท่าไร” เนื้อเพลงติดหู ที่ไม่ว่ากี่ยุคกี่สมัย เมื่อได้ยินเพลงนี้หลายคนก็มักจะร้องตามได้ นอกจากทำนองเพลงจะสนุกสนานแล้ว เนื้อเพลงยังบ่งบอกถึงความเป็นห่วงเป็นใยต่อผู้ที่มีภาวะโรคอ้วน ที่จะมีปัญหาสุขภาพตามมาอีกด้วย
30 ต.ค. 63 7,334 ครั้ง ไม่ว่าคนผอม หรือคนอ้วน เสี่ยงคอเลสเตอรอลสูงได้ทั้งสิ้น ซึ่งพอคอเรสเตอรอลสูง ก็จะทำให้เสี่ยงเกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจได้ในที่สุด ทางที่ดี มาหนีคอเรสเตอรอลตามนี้กันดีกว่า!!
20 ก.ค. 63 8,318 ครั้ง หนึ่งในอาหารที่เป็นที่นิยมของคนไทยคือ “หมูกรอบ” ไม่ว่าจะเป็นข้าวหมูกรอบ หมูกรอบผัดพริกแกง หมูกรอบผัดกะเพรา หมูกรอบผัดพริกขิง ก๋วยจั๊บใส่หมูกรอบ และอื่นๆ จากข้อมูลของสำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธาณสุข ระบุว่าพลังงานจากหมูกรอบ 100 กรัม (7-10 ชิ้นคำ) ให้พลังงานประมาณ 385 -420 แคลอรี่ไขมัน 30 กรัม โดยหากเป็นข้าวหมูกรอบพลังงานก็จะเพิ่มขึ้น เป็น 550-600 แคลอรี่ และหากเป็นเมนูหมูกรอบที่มีการนำไปผัดกับน้ำมันก็จะทำให้ยิ่งเพิ่มพลังงานมากขึ้น
20 ก.ค. 63 5,812 ครั้ง ในปัจจุบันนี้โรคอ้วนและอ้วนลงพุงมีจำนวนเพิ่มมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งหนึ่งในสาเหตุของการเกิดนั้นมาจากการที่กินมากเกินไป (overeating) จากการศึกษาพบว่ารสชาติของอาหารเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้คนกินอาหารมากขึ้น โดยพบว่ารสเค็มเป็นรสที่ส่งผลต่อการกินมากที่สุด รสชาติเค็มเปรียบเหมือนยาเสพติดโดยเร่งการผลิตโดปามีนซึ่งเป็นสารเคมีในสมองส่งผลต่ออารมณ์ความพึงพอใจ ความสุข ทำให้เกิดความรู้สึกอยากอาหาร เมื่อติดรสชาติเค็มแล้วหากไม่ได้รสชาติเค็มก็จะรู้สึกว่าอาหารไม่อร่อย รู้สึกหงุดหงิด อารมณ์เสีย นอกจากนี้ผู้ที่ติดรสชาติเค็มเพียงแค่นึกถึงอาหารที่มีรสชาติเค็มก็สามารถทำให้เกิดความรู้หิวและอยากอาหารขึ้นมา จึงเป็นสาเหตุให้ผู้ที่ชอบกินเค็มอาจจะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำหนักเกินหรือโรคอ้วนได้ง่ายกว่าผู้ที่ไม่ชอบกินเค็มเนื่องมาจากพอความรู้สึกอยากอาหารมากขึ้น กินก็มากขึ้น โอกาสการได้รับพลังงานที่มาจากอาหารก็จะมากขึ้นตามไปด้วย
26 ธ.ค. 62 2,061 ครั้ง ช่วงเทศกาลปีใหม่นี้หากรับประทานเกินความต้องการของร่างกาย เสี่ยงเป็นโรคอ้วนและโรคแทรกซ้อน แนะควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ลดหวาน มัน เค็ม และเพิ่มการออกกำลังกาย ซึ่งจะสามารถช่วยลดความเสี่ยงของโรคต่างๆได้
18 ธ.ค. 62 2,639 ครั้ง คนไทยสุขภาพดี เผยปลายปี 61 พบค่าดัชนีมวลกายปกติ มีแนวโน้มลดลง มีภาวะอ้วนร้อยละ 31.5 ท้วมร้อยละ 19.2 ส่อมีความเสี่ยงด้านสุขภาพมากขึ้น
26 ส.ค. 62 2,551 ครั้ง โรงเรียนวัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม จังหวัดลำปาง แห่งนี้เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ มีสามเณรนักเรียน 235 รูป ครู 13 รูป บุคลากรอื่นๆ จำนวน 6 คน ปัจจุบันมีสามเณรที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน จำนวน 27 รูป
19 ก.ค. 62 46,970 ครั้ง มีคนจำนวนมากยังไม่รู้ถึงอันตรายที่ซ่อนอยู่ในพฤติกรรมการกินของตัวเองและกำลังสร้างโรคต่างๆแบบไม่รู้ตัว เราจึงควรรู้ว่ากินอย่างไรที่จะก่อภัยเงียบ กินอย่างไรถึงดีต่อสุขภาพ แล้วควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหารอย่างไรจึงจะไม่ทำร้ายร่างกาย
15 ก.ค. 62 5,392 ครั้ง อาสาฬหบูชาและเข้าพรรษานี้ สสส. แนะพุทธศาสนิกชนถวายอาหารด้วยสูตร “4 เสริม 2 ลด” หลังพบสงฆ์ไทยอ้วน 48% เสี่ยงอาพาธสูง
09 ก.ค. 62 7,518 ครั้ง กรมอนามัยเผยวัยทำงานไทย 15 ล้านคน เสี่ยงเป็นโรคอ้วนลงพุง ซึมเศร้า ความดันสูง เบาหวาน โรคหัวใจ พบเสี่ยงฆ่าตัวตายมากที่สุด แนะบริษัท-องค์กร สร้างแรงจูงใจเปลี่ยนพฤติกรรม
05 มิ.ย. 62 4,411 ครั้ง สพฐ.สำรวจภาวะ ทุพโภชนาการเด็กไทย พบเด็กอนุบาลผอม 1.43 แสนคน เตี้ย 1 แสนคน และอ้วน 1.11 แสนคน ระดับประถมผอมเกือบ 3 แสนคน เตี้ย 2.43 แสนคน และอ้วน 5.83 แสนคน ส่วนระดับ ม.ต้น มีเด็กผอมเพียง 8.4 หมื่นคน เตี้ย 8.6 หมื่นคน และอ้วน 3.7 แสนคน ส่วน ม.ปลาย ผอมแค่ 5.3 หมื่นคน เตี้ย 4.6 หมื่นคน และอ้วน 2.15 แสนคน หรือ 23%
17 พ.ค. 62 5,080 ครั้ง สำหรับคนอ้วนหรือคนที่มีน้ำหนักเกิน มักประสบปัญหาสุขภาพได้ง่ายเมื่อเทียบกับคนที่น้ำหนักตัวอยู่ในเกณฑ์ปกติ กระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน และเป็นตัวการก่อให้เกิดโรคบางชนิด ซ้ำร้ายอาจรุนแรงและเป็นอันตรายถึงชีวิต