22 มี.ค. 61 4,970 ครั้ง “ผมทำนาแบบขี้เกียจ ไม่ต้องไปดูแลแปลงนาให้มากมาย” ประเสริฐ พุ่มพวง ชาวนาอำเภอผักไห่ จ.พระนครศรีอยุธยา พูดชวนให้ประหลาดใจ ก่อนจะขยายความว่า
25 ก.ย. 60 6,460 ครั้ง โครงการ "ส่งเสริมความมั่นคงทางอาหารในการสร้างเสริมสุขภาวะเครือข่ายชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมือง" หมู่บ้านปางสา ตำบลป่าตึง อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย
01 ก.ย. 60 27,661 ครั้ง ชาวนาขี้เกียจจะปล่อยให้กลไกในนาทำหน้าที่ของมันเอง ไม่ต้องไปดูแลแปลงนาทุกวัน ไปเป็นรอบๆ ก็พอ ผลผลิตก็ขอแค่ 70-80 ถังต่อไร่ ไม่ต้องถึงไร่ละเกวียนเหมือนนาเคมีที่คาดหวัง เพราะใช้ยาฆ่าแมลง และปุ๋ย ฮอร์โมนแบบอินทรีย์ที่ผลิตเอง ทำให้ต้นทุนต่ำกว่านาเคมีมาก เงินก็จะเหลือมากกว่า
01 ก.ย. 60 4,514 ครั้ง ด้วยความมุ่งมั่นที่อยากหลุดพ้นวงจรหนี้สิน และทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น เกษตรกรตำบลสิงหนาทจึงได้รวมกลุ่มระดมความคิดเห็นในการหาทางออกเรื่องนี้ และก็พบสาเหตุของปัญหา นั่นคือการใช้สารเคมีในปริมาณสูงจนเกิดอันตราย ทุกคนจึงลงความเห็นว่าจะ ลด ละ เลิกการใช้สารเคมี และสร้างอาชีพเสริมด้วยการ “ปลูกผักปลอดสารเคมี” ควบคู่กับการทำนา
31 ส.ค. 60 8,074 ครั้ง ปัญหาเด็ก เยาวชน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาเด็กแว๊น ท้องก่อนวัยอันควร ยาเสพติด ไม่เรียนหนังสือ ติดโทรศัพท์ มีนิสัยก้าวร้าว ไม่เชื่อฟังพ่อแม่ ยังเป็นปัญหาหนักอกที่ทุกภาคส่วนต้องการหาทางแก้ไข แต่ละพื้นที่ก็มีวิธีการแก้ไขปัญหาที่แตกต่างกันไป ซึ่งที่อบต.หนองสาหร่าย จ.สุพรรณบุรี ได้ใช้โมเดล"โรงเรียนครอบครัว" เป็น "เครื่องมือ" ในการพัฒนาเด็ก เยาวชน ให้เป็นเด็กที่มีคุณธรรม เป็นคนดี มีวินัย รู้จักความกตัญญู นำร่องที่บ้านห้วยม้าลอยและขยายผลสู่ทุกหมู่บ้าน จนเกิดผลสำเร็จ ได้สร้างความผาสุกให้เกิดขึ้นกับครอบครัวและชุมชน
11 พ.ค. 60 5,133 ครั้ง แต่ละปีประเทศไทยผลิตข้าวได้ประมาณ 24-25 ล้านตัน ผลผลิตทั้งหมดแบ่งบริโภคภายในประเทศประมาณ 10 ล้านตัน และส่งออกอีก 6-10 ล้านตันต่อปี
11 พ.ค. 60 5,391 ครั้ง ‘บ้านโคกแย้ม’สวนกระแสการผลิตเปลี่ยนชีวิตสู่‘เกษตรอินทรีย์’ ใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน สานฝัน‘ชุมชนสุขภาวะ’ปลอดภัยจากสารเคมี
03 ส.ค. 58 5,833 ครั้ง สถานการณ์การใช้สารเคมีทางการเกษตรที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการใช้ปุ๋ยเคมีในการทำนา ยาฆ่าแมลง สารเคมีกำจัดศัตรู ประกอบกับรูปแบบในการทำนาที่เปลี่ยนไปจากเดิม จากนาดำ มาเป็นนาหว่าน เกิดวัชพืชในแปลง ทำให้ชาวนาต้องเร่งใช้สารเคมีกำจัดวัชพืชมากขึ้น เกิดผลกระทบต่อเนื่องไปถึงสิ่งแวดล้อม สุขภาพทั้งของชาวนาเองและของผู้บริโภค จนนำไปสู่การตายของเกษตรกร