30 ก.ย. 64 3,454 ครั้ง มูลนิธิคนตัว D ภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จัดเวทีเสวนาออนไลน์ "สูงวัยจะรับมือข่าวลวง (Fake News) อย่างไรในช่วงโควิด" ลุยสำรวจพบ 4 ข่าวลวง-ข่าวลือป่วนผู้สูงวัย ทั้งการกล่าวอ้างสรรพคุณสมุนไพรเกินจริง ข่าวลือคนในชุมชนติดเชื้อโควิด ผลกระทบการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด และการขอรับบริจาค แนะทางออกชูผู้สูงวัยรู้ทันสื่อ เปลี่ยนจากเหยื่อให้กลายเป็น Active Citizen หรือผู้ที่มีพลังสื่อสารเปลี่ยนแปลงในสังคม
03 มิ.ย. 64 2,386 ครั้ง เตือน! อย่าหลงเชื่อ 2 ข่าวลวงใหม่ ฟ้าทะลายโจรป้องกันโควิด-แอปฯ เป๋าตังค์กู้เงินได้ สสส. เปิดรายงานครบรอบ 1 ปี นวัตกรรม “โคแฟค” มีผู้เช็คข่าวลวงสุขภาพกว่า 1.3 แสนราย พบประชาชนแก้ข่าวปลอม 4,048 ครั้ง ชี้ กลุ่มไลน์-อคติส่วนตัว ต้นตอข่าวลวงระบาด ดัน สร้างอาสาพลเมืองดิจิทัล ตรวจสอบ-แก้ไขข่าวลวงรับผิดชอบสังคม
31 ส.ค. 63 3,076 ครั้ง ปัจจุบันจะมีสักกี่คนที่ไม่ใช้สื่อออนไลน์หรือไม่มีตัวตนในสังคมเสมือน เมื่อสื่อใหม่เข้าถึงคนทุกเพศทุกวัยผ่านหลากหลายเครื่องมือทั้งคอมพิวเตอร์ แท็บเลต โทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน เทคโนโลยีทำให้ผู้คนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้รวดเร็วและกว้างขวาง แต่ขณะเดียวกัน ก็นำมาซึ่งหนึ่งในปัญหาสำคัญอย่าง“ข่าวปลอม-ข่าวลวง (Fake News)”ทำให้ที่ผ่านมามีความพยายามจากหลายภาคส่วนในการให้ความรู้และเน้นย้ำ“เช็คให้ชัวร์ก่อนแชร์”เพื่อจะได้ไม่ร่วมเป็นผู้กระจายข่าวปลอมโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์
25 พ.ค. 63 3,758 ครั้ง เผยคนไทยเสพข่าวปลอมด้านสุขภาพ ช่วง โควิด-19 ผ่านช่องทางยอดนิยมอย่างเฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ พบหลายข่าวมีการแชร์ต่อจำนวนมาก แต่ให้ความเห็นในเชิงแก้ข่าวน้อย แนะคนไทย รู้เท่าทันสื่อ รัฐ เอกชน ประชาชน และสื่อหลัก ร่วมมีบทบาทในการสร้างความเข้าใจ แก้ข่าวปลอม ให้ข้อเท็จจริง
02 ม.ค. 63 8,488 ครั้ง ข่าวลวง คือข่าวที่มีข้อมูลเป็นเท็จ ซึ่งมีทั้งการส่งต่อความรุนแรงเชิงโครงสร้าง ก่อนให้เกิดการกลั่นแกล้งทางไซเบอร์ เป็นเครื่องมือทางการเมือง ก่อนให้เกิดการสร้างวาจาเกลียดชังตลอดจนถึงการโฆษณาเกินจริง ส่งต่อความเชื่อที่ผิด
02 ม.ค. 63 4,246 ครั้ง ผู้สูงอายุในไทย 75% ใช้สื่อโซเชียลมีเดีย โดยรู้ไม่เท่าทัน โดยเฉพาะผู้สูงอายุเพศหญิงตกเป็นเหยื่อสูงสุด เพียงเพราะใส่ใจสุขภาพ แต่ไม่อ่านฉลาก โดยสื่อที่ผู้สูงอายุใช้งานมากที่สุดคือ Line (52%) TV (24%) Facebook (16%)